ธรรมยุติกนิกาย : ความดั้งเดิมเมื่อแรกเริ่มและความแปลกต่าง ของข้อวัตรปฏิบัติในล้านนา

ผู้แต่ง

  • พระมหาปุณณ์สมบัติ ปภากโร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พระครูสมุห์ธนโชติ จิรธมฺโม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • ประทีป พืชทองหลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คำสำคัญ:

นิกายธรรมยุต, ข้อวัตรปฏิบัติ, ล้านนา

บทคัดย่อ

นโยบายการสร้างรัฐในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงมีวัตถุประสงค์ในการสร้างรัฐสยามให้เป็นรัฐสมัยใหม่ พร้อมกับผนวกอาณาจักรล้านนาและหัวเมืองมณฑลอีสานให้เป็นหนึ่งเดียว  การผนวกเอาล้านนาเข้ากับรัฐสยามเกิดขึ้นได้ด้วยอำนาจและกลไกรัฐผ่านผู้ปฏิบัติการ ดังนั้น ธรรมยุติกนิกายซึ่งอิงอยู่กับอำนาจรัฐจึงมีบทบาทในฐานะผู้ขับเคลื่อนกลไกนั้นให้เป็นไปและมีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ อาณาจักรล้านนาเกิดการเปลี่ยนผ่านจากรัฐจารีตรวมเป็นหนึ่งเดียวกับรัฐสยามด้วยกิจกรรมของธรรมยุติกนิกายผ่านกิจกรรมต่าง ๆ และกฎหมาย เช่น  ข้อปฏิบัติเชิงจารีตของธรรมยุติกนิกาย การจัดโครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ด้วยพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองสงฆ์ปี พ.ศ. 2445 เกิดการปักหมุดธรรมยุติกนิกายจนนำไปสู่การขยายธรรมยุตไปสู่หัวเมืองล้านนาในเวลาต่อมา

References

กมล บุตรชารี. (2559). การศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาการเผยแผ่ธรรมของพระ อุบาลีคุณูปมาจารย์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหามกุฏราชวิทยาลัย).

กรรมการบริหารคณะธรรมยุต. (2557). ประวัติคณะธรรมยุต. กรุงเทพฯ : มหา มกุฏราชวิทยาลัย.

ไข่มุก อุทยาวลี. (2534). บทบาทคณะสงฆ์ในการจัดการศึกษาในล้านนาสมัยรัชกาลที่ 5. ศึกษาศาสตร์สาร, 16(1), 142.

จิระ สุนทรสิงห์.(2452). พระพุทธศาสนาในล้านนา. สืบค้น 31 สิงหาคม 2564 จาก Error! Hyperlink reference not valid.

โชติ กัลยาณมิตร.(2526). แบบอย่างลังกาวงศ์ในสมัยสุโขทัย. วารสารหน้าจั่ว มหาวิทยาลัยศิลปากร 3, 271.

ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. (2539). พุทธทาสกับทฤษฎีธรรมิกสังคม. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 1(1), 8-15.

เทพประวิณ จันทร์แรง. (2562). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในล้านนา : การวิเคราะห์ข้อมูลจากคัมภีร์และหลักฐานทางโบราณคดี. พุทธศาสตร์ศึกษา 10 (1),70-92.

ธนจรรย์ สุระมณี (ส.ธนจรรย์). (2562). ประวัติวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร. เชียงใหม่: นันทพันธ์พรินติ้ง.

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียวและคณะ. (2557). รัฐสยามกับล้านนา พ.ศ. 2417-2476. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา, 6(11), 68.

บรรณาธิการ หนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์.(2561). 200 กว่าปี ล้านนาภายใต้พม่า.สืบค้น 14 ธ.ค. 64 จาก https://www.chiangmainews.co.th

ผไท นาควัชระ. (2546). บทบาทและหน้าที่ของพระอุปัชฌาย์ในคณะสงฆ์ไทย. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

พรหมเรศ แก้วโมลา และคณะ.(2563). บทบาทของพระมหาเถระล้านนาในการเชื่อมโยงภูมิภาค. journal of Buddhist Education and Research : JBER, 6 (1), 1.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2528 ) . พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล . กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พิสิฏฐ์ นาสี. สัมมนา ทบทวน ท้าทาย ล้านนาคดีศึกษาสู่ทศวรรษใหม่. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=lTU8rG6PVSo.

พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์. (2560). พระพุทธศาสนาในอาณาจักรล้านนา. เอกสารประกอบการบรรยาย พระพุทธศาสนาในล้านนา โครงการอบรมมัคคุเทศก์ ภาควิชาท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ และคณะ. (2557). การถ่ายทอดศิลปะและวัฒนธรรมภูมิปัญญาล้านนาสู่สังคมโดยผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่น. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.

มนตรี รอดแก้วและคณะ. (2555). บทบาทของคณะสงฆ์ธรรมยุตต่อการส่งเสริมความคิดทางการเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(3), 1.

ลานนาสีโหภิกขุ (บุญเลิศ พริงพราวลี) และคณะ. (2560).ประวัติเจ้าคุณอภัย สารทะ. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2564 จาก www.faihin.com.

วันทนีย์ ส่งศิริ. (2525). การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี และคณะ.(2560). วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนา ฉบับวัดสวนดอก. วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8 (1),121.

สุชัย สิริรวีกูล และคณะ.(2562). วิเคราะห์พุทธศิลป์ล้านนากับกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ กลุ่มชาติพันธุ์อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6 (5), 1.

สุรชัย ชินบุตร.(2557). สัญลักษณ์ข้าโอกาสวัดพระธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในพิธีถวายข้าวและเสียค่าหัว. วารสารไทยศึกษา, 9 (2), 1.

สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์.(2555). นิกายพุทธศาสนาในล้านนาระหว่างรัชสมัยพระเจ้าติโลกราชถึงพญาแก้ว (1984-2068) ศึกษาจากพระพุทธรูปสำริดที่มีจารึกในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารหน้าจั่ว มหาวิทยาลัยศิลปากร, 32 (2), 19.

สุรัสวดี อ๋องสกุล. (2557). กษัตริย์ล้านนาเชียงใหม่. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.

องค์ บรรจุน. (2564). “ผีนัต ที่พึ่งพิงประจำบ้านพม่า” ศิลปวัฒนธรรมออนไลน์. สืบค้นเมื่อ วันที่ 27 มกราคม 2564 จาก https://www.silpa-mag.com/culture/article.

อัจฉรา กาญจโนมัย. (2522). พระพุทธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ 2325-2394). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

อาโด๊ด.(2563). เหตุใดมอญต้องสร้างโบสถ์กลางน้ำ (อุทกสีมา). ศิลปวัฒนธรรมออนไลน์. สืบค้นเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_17556.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

17-06-2022