การศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบพุทธปรัชญากับสังคมวิทยา

ผู้แต่ง

  • พระมหาคมคาย สิริปญฺโญ (สิงห์ทอง) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด
  • นฐนกร ธงพุทธามนท์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

พุทธปรัชญา สังคมวิทยา

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความหมาย ความเป็นมา วิธีการของพุทธปรัชญา 2) เพื่อศึกษาความหมาย ความเป็นมา หลักการของสังคมวิทยา 3) วิเคราะห์เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและสังคมวิทยา  จากการศึกษาพบว่า พุทธปรัชญามาจากแนวความคิดในการแสวงหาความรู้โดยอาศัยหลักความจริงภายนอกและความจริงภายใน ซึ่งหลักการค้นหาความจริงเหล่านั้นต้องกำกับด้วยสติและปัญญา จุดมุ่งหมายของสังคมวิทยา คือ การอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเพื่อให้เราได้เข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นได้อย่างมีหลักเกณฑ์ที่เป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อทำความเข้าใจบทบาท สถานภาพ ของมนุษย์ที่มีต่อสังคม เพื่อช่วยให้คนในสังคมปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมต่างๆ ได้

References

คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2550). ประวัติพระพุทธศาสนา, กรุงเทพฯ : นวสาส์นการพิมพ์.

คำนวล คำมณี. (2560). แนวคิดพุทธปรัชญาในวรรณกรรมหนังสือบุด เรื่องท้าวชมพูฉบับสถาบันทักษิณคดีศึกษา. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(2), 105-153.

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2540). สังคมวิทยา.พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2562). ปรัขญาทางสังคมแห่งพระพุทธศาสนา. นนทบุรี: หจก.นิติธรรมการพิมพ์.

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2553). เอกสารประกอบคำบรรยาย พป 307 สัมมนาสารัตถะแห่งพระพุทธศาสนาและปรัชญา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

ดนัย ไชยโยธา (2534). พื้นฐานทางสังคมวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ทองหล่อ วงษ์ธรรมมา. (2536). ปรัชญาตะวันออก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

บุญมี แท่นแก้ว. (2544). ปรัชญาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โอ . เอส . พริ้นติ้งเฮ้า.

บุญมี แท่นแก้ว. (2545). พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

ปรุมต์ บุญศรีตัน. (2556). เอกสารประกอบการสอนพุทธปรัชญา. เชียงใหม่: ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง. (2540). การจัดระเบียบทางสังคม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2564). ปรัชญากรีก : บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พระนครศรีอยุธยา : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2533). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: ปัญญา.

มงคล หวังสุขใจ และคณะ. (2548). สังคมวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิโรจ นาคชาตรี. (ม.ป.ป.). พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2523). หลักสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุนทร ณ รังษี. (2552). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สนธยา พลศรี. (2541). สังคมวิทยาเบื้องต้น. สงขลา : สถาบันราชภัฏสงขลา.

สุพัตรา สุภาพ. (2545). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.

สมภาร พรมทา. (2531). กาลและอวกาศในพุทธปรัชญาเถรวาท. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2552). วิทยปรัชญา. กรุงเทพฯ: ประสิทธิ์ภัณฑ์ แอนต์ พริ้นติ้ง.

สุเทพ สุวีรางกูร. (2537). สังคมวิทยาเบื้องต้น. นครปฐม : โครงการผลิตสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์และเศรษศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย .

สถิต วงศ์สวรรค์. (2541). ปรัชญาตะวันออก. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2022