พุทธนวัตกรรมทางการแพทย์: ลดกิเลสรักษาโรค
คำสำคัญ:
พุทธนวัตกรรมทางการแพทย์, ลดกิเลสรักษาโรค, ใจเพชร กล้าจน, ศาสตร์การแพทย์วิถีธรรม, วิทยาศาสตร์นามธรรมบทคัดย่อ
ศาสตร์การแพทย์วิถีธรรมของ ดร.ใจเพชร กล้าจน เป็นศาสตร์การแพทย์แผนใหม่ของโลก มีจุดกำเนิดในประเทศไทย มีแนวคิดหลัก คือ การฝึกฝนปฏิบัติเพื่อเข้าถึงสภาวะของความสุขอันสูงสุด คือ นิโรธ/วิมุตติ/นิพพาน ไปเป็นลำดับๆ มีการอธิบายกลไกการเกิดการหายของโรคอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ทั้งเชิงนามธรรม (Abstract Science) และรูปธรรม (Physical Science) มีวิธีปฏิบัติที่เรียกว่าหลัก 9 ข้อสู่สุขภาวะแห่งพุทธะ หรือยา 9 เม็ดของแพทย์วิถีธรรม มีสโลแกนคือ "ลดกิเลสรักษาโรค" "หมอที่ดีที่สุดในโลกคือตัวเราเอง" "ศูนย์บาทรักษาทุกโรค" มีการปฏิบัติเพื่อลดกิเลสแทรกอยู่ในยาทั้ง 9 เม็ดและในทุกกิจกรรมของการอบรมค่ายสุขภาพ ผลจากการปฏิบัติพบว่า สามารถรักษาโรคทุกโรคได้จริง ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง ไตวายเรื้อรัง SLE โรคหนังแข็ง สะเก็ดเงิน ไวรัสตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง ไทรอยด์เป็นพิษ กระดูกพรุน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดสมองตีบ เกาต์ รูมาตอยด์ ภูมิแพ้เรื้อรัง ต่อมทอนซิลอักเสบ วัณโรค งูสวัด ไฟลามทุ่ง แผลเบาหวาน ไข้ไทฟอยด์ ไข้ชิคุนกุนยา โรคโควิด ฯลฯ โดยผลที่ได้ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติของผู้นั้นเอง นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดผลด้านบวกต่อชีวิตในทุกมิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ปัญญา เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตโดยรวม และ การพึ่งตนและช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นทุกข์ (ภาวะแห่งพุทธะ) อีกด้วย จึงเป็นการจับจุดเดียวมลายทุกข์ทั้งแนว ซึ่งจุดเดียวที่ว่านี้ก็คือการลดละเลิกกิเลสตัณหานั่นเอง
References
ใจเพชร กล้าจน. (2553). ความเจ็บป่วยกับการดูแลสุขภาพแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธ ของศูนย์เรียนรู้สุขภาพพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สวนป่านาบุญ อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์, คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี).
ใจเพชร กล้าจน. (2558). จิตอาสาแพทย์วิถีพุทธเพื่อมวลมนุษยชาติ. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค (สาธารณสุขชุมชน), บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์).
ใจเพชร กล้าจน. (2562). เทคนิคการทำใจให้หายโรคเร็ว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
ใจเพชร กล้าจน. (2564). บททบทวนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
ใจเพชร กล้าจน และคณะจิตอาสาแพทย์วิถีธรรม. (2564). คู่มือสขภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรมฝ่าวิกฤตโควิด 19 ฉบับย่อ. ปทุมธานี: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด.
ดินแสงธรรม กล้าจน. (2562). ข้อมูลสถิติมูลนิธิแพทย์วิถีธรรมแห่งประเทศไทย. เชียงใหม่: มูลนิธิแพทย์วิถีธรรมแห่งประเทศไทย.
นิตยาภรณ์ สุระสาย. (2563). รูปแบบการบูรณาการวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์วิถีธรรม. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี).
ประเวศ วะสี. (2552). “เอ็นโดรฟิน”, จิตวิญญาณ Spirituality. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565, จาก www.novabizz.com/NovaAce/Spiritual/ Spirituality.htm.
ฝ่ายงานวิชาการมูลนิธิแพทย์วิถีธรรมแห่งประเทศไทย. (2565). ตัวอย่างกรณีศึกษา งานวิจัย งานวิชาการแพทย์วิถีธรรม. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565, จาก www.morkeaw.net.
พิชิต โตสุโขวงศ์. (2535). “กระบวนการของชีวิตในระดับโมเลกุล”, ใน วิทยาศาสตร์ชีวภาพ. เครือวัลย์ โสภาสรรค์ บรรณาธิการ. หน้า 1-50. พิมพ์ครั้งที่ 11. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เล่มที่ 4, 10, 12, 14, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 24 และ 31. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราตรี สุดทรวง และวีระชัย สิงหนิยม. (2550). ประสาทสรีรวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลักขณา แซ่โซ้ว. (2565). วิเคราะห์ศาสตร์การแพทย์วิถีธรรมของ ดร.ใจเพชร กล้าจน. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
ลักขณา แซ่โซ้ว, พูนชัย ปันธิยะ และวรางคณา ไตรยสุทธิ์. (2565). วิเคราะห์ศาสตร์การแพทย์วิถีธรรมของ ดร.ใจเพชร กล้าจน. วารสารปรัชญาอาศรม, 4(1), 47-61.
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2555). ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ใจเพชร กล้าจน) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ผลงาน “บุคคลทำคุณประโยชน์ ค้นพบศาสตร์การแพทย์วิถีธรรมเพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง.
อรุณรัตน์ ไกรลาศศิริ. (2560). ผลของการรับประทานอาหารปรับสมดุลตามหลักการแพทย์วิถีธรรม ต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์).
อาราทร หล้าคำมูล และคณะ. (2557). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางแพทย์วิถีธรรม ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตำบลยอด อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.
เอม จันทร์แสน. (2560). การประยุกต์ใช้หลักการแพทย์วิถีธรรมร่วมกับหลักการแพทย์แผนปัจจุบัน สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จังหวัดกาฬสินธุ์. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารปณิธาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th