สินค้าและทุนวัฒนธรรมช่วยผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาหมู่บ้านอุมะจิ เกาะชิโกกุ ประเทศญี่ปุ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้พยายามชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง “สินค้าวัฒนธรรม” และ “ทุนวัฒนธรรม” กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ โดยศึกษาจากกรณีหมู่บ้านอุมะจิ เกาะชิโกกุ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งพบว่าหมู่บ้านอุมะจิสามารถผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจของชุมชนได้ด้วยการสร้างและใช้สินค้าวัฒนธรรม คือ ผลิตภัณฑ์ส้มยูสุแปรรูปที่นำเอาเรื่องวิถีการดำเนินชีวิต หรือวัฒนธรรมของชาวบ้านอุมะจิ สอดแทรกฝังตัวลงไปในตัวสินค้า และใช้ทุนวัฒนธรรมของหมู่บ้าน คือความเป็นหมู่บ้านชนบท ในการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการบริโภค
คำสำคัญ : สินค้าวัฒนธรรม, ทุนวัฒนธรรม, วิกฤตเศรษฐกิจ, หมู่บ้านอุมะจิ, ประเทศญี่ปุ่น
Abstract
This article aims to demonstrate the relationship between “cultural commodity” and “cultural capital” within the economic crisis. The case study will be based on the incident of Umaji village in Japan, where overcoming the economic crisis was successfully founded by creating and consuming cultural commodity. The referred commodity is the transformed orange juice called Yusu, which encloses the living and culture of the Umaji villagers. Furthermore, in this incident, the village’s cultural capital, like the rural village life, is used to motivate the consumers’ need to consume the product.
Keywords : cultural commodity, cultural capital, economic crisis, Umaji village in Japan
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กนกศักดิ์ แก้วเทพ (บรรณาธิการ), 2551. มรรควิธีเศรษฐศาสตร์การเมือง (2), กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน, 2551.สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่อสารศึกษา กรุงเทพฯ: ภาพ
พิมพ์
เกษม เพ็ญภินันท์. 2550. "สู่พรมแดนความรู้...เรื่องวัฒนธรรมบริโภค: ความเป็นปกติ วิสัยของการบริโภควัฒนธรรมในชีวิต ประจําวัน" ใน สู่พรมแดนความรู้เรื่อง วัฒนธรรมบริโภค, หน้า 1-91. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ครุกแมน, พอล. 2548. เศรษฐวิบัติ, ศิริพงษ์ วิทยวิโรจน์ (แปล), กรุงเทพฯ: มติชน
มัสรา ขมะวรรณ. 2537. แนวความคิดของเรย์ มอนด์ วิลเลียมส์ ในวัฒนธรรมศึกษาและ การวิเคราะห์วัฒนธรรมบริโภค. วิทยานิพนธ์ สังคมวิทยา และมานษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, 2539. ประวัติศาสตร์การปฏิวัติอุตสาหกรรมเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้ง ที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การ เมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ชนิดา เสงี่ยมไพศาลสุข. 2548. บทความ"L'economie des biens symboliques" (เศรษฐกิจของทรัพย์สินเชิงสัญลักษณ์) ของ ปีแอร์ บูร์ดิเยอ: บทแปลและบทวิเคราะห์ มโนทัศน์ทางสังคมวิทยา วิทยานิพนธ์ศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปลภาษา ฝรั่งเศส-ไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทานิซากิ, จุนจิโร 2528. เป็นเงาสลัว, สุวรรณา วงศ์ไวศยวรรณ (แปล), กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
พัฒนา กิติอาษา, 2546. ใน พัฒนา กิติอาษา(บรรณาธิการ), มานุษยวิทยากับการศึกษา ปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสังคมไทยร่วม สมัย, หน้า 2-48. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์. 2546. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ยุพา คลังสุวรรณ. 2547. ญี่ปุ่นสร้างชาติด้วยความรักและภักดีภูมิหลังทางวัฒนธรรมของสังคมญี่ปุ่น, กรุงเทพฯ: มติชน
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2540. จุดเริ่มต้นและจุดจบของเศรษฐกิจแบบฟองสบู. สารคดี. ปีที่ 13 ฉบับที่ 152 (ตุลาคม): 104-117.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ. 2546. ทุนวัฒนธรรมวัฒนธรรมในระบบทุนนิยมโลก เล่มที่ 1.กรุงเทพฯ: มติชน
วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์, 2548. ทุนทางสังคม กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.) สุภางค์ จันทวานิช. 2551. ทฤษฎีสังคมวิทยา กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
สุวินัย ภรณวลัย, 2523. เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโครงสร้างเศรษฐกิจญี่ปุ่นกับการ พัฒนาของระบบทุนนิยมโลกหลังสงคราม
โลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ. 2548. JAPANIZATION.กรุงเทพฯ: openbooks.
โอโตชิ, มาซาฮิโกะ, 2549. ประสบการณ์ยิ่งใหญ่ในหมู่บ้านเล็ก ๆ. มุทิตา พานิช (แปล) กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา
ฮิชาชิ, โฮะโฮะกาว่า, 2545. ญี่ปุ่น ยุทธศาสตร์การค้าและอุตสาหกรรม, กนิฏฐา มัทซุโอะ (แปล), กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคม ศาสตร์และมนุษยศาสตร์