พระพุทธศาสนากับแนวคิดเรื่องสิทธิ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพระพุทธศาสนากับแนวคิดเรื่องสิทธิ ผลการศึกษาพบว่า พระพุทธศาสนามีแนวคิดเรื่องสิทธิ โดยแนวคิดดังกล่าวปรากฏอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นสาระคำอธิบาย เกี่ยวกับธรรมชาติพื้นฐานของมนุษย์ และในส่วนที่เป็นเหตุผลว่าเหตุใดมนุษย์จึงไม่ควรละเมิดผู้อื่น แนวคิดเรื่องสิทธิในพระพุทธศาสนาหากพิจาณาจากกรอบประเภทของสิทธิ จัดเป็นสิทธิธรรมชาติ เพราะว่าเป็นสิทธิที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติ
คำสำคัญ: พระพุทธศาสนา แนวคิดเรื่องสิทธิ ธรรมชาติของมนุษย์ การไม่ละเมิด
Abstract
This article aims to study Buddhism and concept of rights. The finding found that Buddhism has concept of rights. For the concept of rights in Buddhism, it appears both in the essential explanation of basic nature of human and the reason why human should not infringe the others. In term of the classification of rights, concept of rights in Buddhism is natural rights, because it really exists in nature.
Keywords: Buddhism, Concept of Rights, Human Nature, Non-infringement
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
ทศพล วิชัยดิษฐ์. (2545). สิทธิธรรมชาติ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. 3(6).
บุญธรรม พูลทรัพย์. (2533). ศีลธรรมกับสิทธิมนุษยชนในพุทธปรัชญาเถรวาท. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา, จุฬาลงกรณ์-มหาวิทยาลัย.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2543). เรื่องสิทธิและเสรีภาพและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
พงศ์ศิริ ศรีวรรธน. (2546). มโนทัศน์เรื่องสิทธิในพุทธ-ศาสนา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิชาปรัชญา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2538). สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วิสูตร ฟองศิริไพบูลย์. (2544). สิทธิของผู้ป่วย. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2554, จาก E- LIB Electronic Library ห้องสมุดการแพทย์และสุขภาพ E-LIB เว็บไซต์: http://www.elib-online.com/physicians/forensic/forensic_privilege001.html
สมภาร พรมทา. (2542). พุทธศาสนากับปัญหาจริยศาสตร์ โสเภณี ทำแท้ง และการุณยฆาต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2542). พุทธปรัชญา มนุษย์ สังคม และปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป. (2554). สิทธิ.สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2554, จาก สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ เว็บไซต์: http://www.philospedia.net/rights.html
หยุด แสงอุทัย. (2523). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Keown, Damien. (1995). Are There “Human Rights” in Buddhism? Retrieved july 3rd 2011, from Urban Dharma Buddhism in America Website:http://www. urbandharma.org/udharma/humanrights.html
Wikipedia. (2008). Natural and legal rights.Retrieved july 5th 2011, from Wikipedia Website: http://en.wikipedia.org/wiki/Natural_and_legal_rights