ชีวิตและงานเขียน: มายาภาพของภาพชีวิต
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งนำเสนอชีวิตและงานเขียนของนักประพันธ์เอกของโลก เพื่อวิเคราะห์แนวคิดหลักอันเป็นคุณค่าหรือสารัตถะที่ปรากฏในงานเขียนนั้น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่าวรรณกรรมอันเป็นดั่งบรรณาการแห่งโลกเหล่านี้ ล้วนแสดงแก่นแท้ในการดำรงชีวิต หรือแง่มุมใดแง่มุมหนึ่งของนักเขียนและผู้คนมากมายที่ผันผ่านเข้ามาในชีวิตของเขา การศึกษาวิเคราะห์นี้มุ่งเชิดชูคุณค่า และเน้นย้ำสารัตถะที่ปรากฏในงานเขียนให้เด่นชัดขึ้น
คำสำคัญ : งานเขียน, บทประพันธ์, วรรณกรรม แก่นเรื่อง, แนวคิดหลัก, สารัตถะ, ภาพมายา, ภาพชีวิต
Abstract
This article aims to present lives and works of the world’s famous authors in order to comprehensively analyze the main ideas illustrated in their works in order to show how literature could be valued as the gift of the world. In addition, it also portrays the lives of the authors in certain perspectives including people posing influences on their lives as well. Hence, this study would provide a proper highlight to the core value and the main ideas of the works.
Keyword : Composition, theme, illustration, lives
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ. (2552). หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว.กรุงเทพฯ: สามัญชน.
ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. (2545). อ่าน(ไม่)เอาเรื่อง.กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
นพพร ประชากุลและชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. (2540). ทฤษฎีวรรณกรรม. วารสารร่มพฤกษ์, 15 (2), 27-43.
พิมาน แจ่มจรัส. (2546). “ปาป้า” เฮมิงเวย์อหังการแห่ง ... ชีวิตห้าว.ม.ป.ท.: โกสินทร์.
ฟรานซ์ คาฟคา. (2544). กลาย. กรุงเทพฯ: แพรว.ริชาร์ด บาค. (2546). โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล.กรุงเทพฯ: เรือนปัญญา.
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2540). เส้นทางนักประพันธ์.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สามัญชน.
________. ปาฐกถาเนื่องในวันนักเขียนหัวข้อ“การเขียนหนังสือในฐานะการแสดงออกทางจิตวิญญาณ”ณสถาบันปรีดีพนมยงค์ เมื่อวันที่5 พฤษภาคม 2553.
อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี. (2546). เจ้าชายน้อย.พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: เรือนปัญญา.
เออร์เนสต์เฮมิงเวย์. (2543). เฒ่าผจญทะเล. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: บริษัทสร้างสรรค์บุ๊ค.