วัฒนธรรมและการเมืองว่าด้วยอาหารการกินของคนในดินแดนไทยตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์-ต้นรัตนโกสินทร์: ข้อสังเกตบางประการ

Main Article Content

โดม ไกรปกรณ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งที่จะให้ภาพความเปลี่ยนแปลงของอาหารการกินของผู้คนในดินแดนประเทศไทยในช่วงประวัติศาสตร์ที่ยาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ – ต้นรัตนโกสินทร์ และเสนอแง่มุมด้านการเมืองของอาหารที่ผู้คนในช่วงเวลาดังกล่าวบริโภค โดยชี้ให้เห็นว่า อาหารการกินของผู้คนในดินแดนไทย ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นไปในทิศทางที่สลับซับซ้อนเพิ่มขึ้นตามสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคม และเป็นปัจจัยประการหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจของคนในสังคม

คำสำคัญ : อาหารการกิน, ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม, สมัยก่อนประวัติศาสตร์ - สมัยต้นรัตนโกสินทร์

 

Abstract

This article aims to portrait the change of Thai dietary habits from prehistoric period to early Rattanakosin era. Additionally, it presents the relationship between politics and food in which the people living in that period had experienced. It also points out that Thai dietary habits had become more complicate as a result of dynamic social development and became a factor related to the structure of power of the Thai society.

Keywords : Dietary, Cultural History, Prehistoric- Early Rattanakosin Period

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลทิพย์ จ่างกมล. (2545). อาหาร: การสร้างมาตรฐานในการกินกับอัตลักษณ์ทางชนชั้น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

ขจร สุขพานิช. (2525). ฐานันดรไพร่. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.บลอค, มาร์ค. (2527). ความคิดทางประวัติศาสตร์ของมาร์ค บลอค (Marc Bloch).

นพพร ประชากุล (แปล).รวมบทความประวัติศาสตร์ ปีที่ 6, 49-58.จิตร ภูมิศักดิ์. (2547). โองการแช่งน้ำและข้อคิดใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.

จิตร ภูมิศักดิ์. (2550). โฉมหน้าศักดินาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2516).พระราชพิธีสิบสองเดือน. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

แชรแวส, นิโกลาส. (2550). ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม (ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช). สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2.นนทบุรี: ศรีปัญญา.

ดินาร์ บุญธรรม. (2553). ความสำคัญและบทบาทของ “อาหาร” ในราชประเพณีสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕ - ปัจจุบัน). วารสารไทยศึกษา, 5(2), 17-66.

โโดม ไกรปกรณ์. (2542). ตำราพระราชพิธีสมัยรัชกาลที่ 4-5 (พ.ศ.2394-2453). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ม.ร.ว. (2553). ปาฐกถานำเรื่อง วัฒนธรรมอาหารในสังคมไทย. ใน อภิลักษณ์ เกษมผลกูล และชนกพร พัวพัฒนกุล (บรรณาธิการ), เปิดตำรับสำรับศาลายา, 13-58. นครปฐม: สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2534). วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2544). การศึกษาประวัติศาสตร์แบบ Postmodern. ใน กาญจนี ละอองศรี และธเนศ อาภรณ์สุวรรณ (บรรณาธิการ), ลืมโคตรเหง้าก็เผาแผ่นดิน, 351-390.กรุงเทพฯ: มติชน, 2544.

ธิดา สาระยา. (2552). อารยธรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

ธีระ นุชเปี่ยม. (2545).‘POSTMODERNIST HISTORY’ วิกฤตหรือความก้าวหน้าของประวัติศาสตร์. จุลสารไทยคดีศึกษา, 18(4), 38-54.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2538). ปากไก่และใบเรือ ว่าด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์.

ประชุมกาพย์เห่เรือสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์. (2504). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

ประภัสสร บุญประเสริฐ. (2548). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย HI 322. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.ปาลเลกัวซ์, มงเซเญอร์. (2549). เล่าเรื่องกรุงสยาม.สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล).พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์. (2545). ตำราแม่ครัวหัวป่าก์ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สมาคมกิจวัฒนธรรม.

มนฤทัย ไชยวิเศษ. (2542). ประวัติศาสตร์สังคม: ส้วมและเครื่องสุขภัณฑ์ในประเทศไทย (พ.ศ.2440-2540. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยศ สันตสมบัติ. (2544). มนุษย์กับวัฒนธรรม.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2528). ภาษีอากรในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย : คลังข้อมูลและบทสำรวจสถานะทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลาลูแบร์, มองซิเออร์ เดอ. (2548). จดหมายเหตุลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม. สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2542). ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง ค.ศ. 1767. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วันทนา ศิวะ. (2551). ปล้นผลผลิต! ปฏิบัติการจี้ยึดเสบียงอาหารโลก. ไพโรจน์ ภูมิประดิษฐ์ (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

วีระ สมบูรณ์. (2551). รัฐธรรมในอดีต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: openbooks.

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2539). สยามประเทศ ภูมิหลังของประเทศไทยตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์จนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาราชอาณาจักรสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน.

สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2523). ความคิดทางการเมืองและสังคมไทย.กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

สมรักษ์ ชัยสิงห์กานานนท์. (2544). รสนิยม ภาษาในสังคมไทยยุคบริโภคนิยม. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือเล่ม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2549).สุวรรณภูมิ ต้นกระแสประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2551). ข้าวปลาอาหารไทย ทำไม? มาจากไหน. กรุงเทพฯ: กองทุนเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะ.

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). (2531). ข้าวไพร่-ข้าวเจ้าของชาวสยาม. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). (2539). ไม่มีนางนพมาศ ไม่มีลอยกระทงสมัยสุโขทัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). (2550). เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.

สุชาติ หงษา. (2550). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา.กรุงเทพฯ: ศยาม.

สุดสวาท ดิศโรจน์. (2552). ประชากรและการตั้งถิ่นฐานบนผืนแผ่นดินไทย ยุคดึกดำบรรพ์ถึงยุคประวัติศาสตร์: ส่วนเสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรพล นาถะพินธุ. (2550). รากเหง้าบรรพชนคนไทย: พัฒนาการทางวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: มติชน.

อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. (2527). สังคมไทยในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์. ม.ร.ว. ประกายทอง สิริสุข และพรรณี ฉัตรพลรักษ์ (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

อนุสรณ์ อำพันธ์ศรี. (2553). กินอยู่อย่างคนก่อนประวัติศาสตร์บนพื้นที่สูง: การตีความหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับกระบวนการเข้าถึงทรัพยากรอาหารของกลุ่มคนล่าสัตว์-เก็บหาอาหารในสมัยก่อนประวัติศาสตร์. ใน เอกสารประกอบการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 9 ปาก-ท้อง และของกิน: จริยธรรมและการเมืองเรื่องอาหารการกิน เล่ม 1, 168-195 .กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

อัญชลี สุสายัณห์. (2552). ความเปลี่ยนแปลงของระบบไพร่และผลกระทบต่อสังคมไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

อาคม พัฒิยะ และนิธิ เอียวศรีวงศ์. (2527). ศรีรามเทพนคร รวมความเรียงว่าด้วยประวัติศาสตร์อยุธยาตอนต้น. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2543). ความคิดทางประวัติศาสตร์และศาสตร์ของวิธีคิด. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ฮอลล์, ดี.จี.อี. (2549). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร เล่ม 1, ท่านผู้หญิงวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ไฮแอม, ชาร์ล และรัชนี ทศรัตน์. (2542).สยามดึกดำบรรพ์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ริเวอร์ บุ๊คส์.

Ashley, Bob, et.al. (2004). Food and Cultural Studies. London: Routledge.

Braudel, Fernand. (1980). On History. Translated by Sarah Matthews. Chicago: University of Chicago Press.

Levi-Strauss, Claude. (1997). “The Culinary Triangle,” in Carole Counihan and Penny Van Esterik (eds.) Food and Culture A Reader,p.28-35.New York: Routledge.

Roberts, Michael. (2004). The Annales school and historical writing. in Lambert, Petert and Schofield, Phillipp (editors) Making History An Introduction to the history and practices of a discipline, p.78-92. London: Routledge.