วิวัฒนาการเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในปัจจุบัน มีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตของคนในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได้มีการทำให้เป็นมาตรฐานเพื่อให้การสื่อสารไร้สายดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายมีการพัฒนามาตั้งแต่ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 และยุคที่ 3 สำหรับการรับส่ง ข้อมูลบนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น GPRS, EDGE, WCDMA และ CDMA2000 รวมถึง เครือข่ายรับส่งข้อมูลไร้สาย เช่น Wi-Fi และ WiMAX เทคโนโลยีเหล่านี้มีการพัฒนาทั้งด้านความเร็ว และระยะในการรับส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง WiMAX เป็นเทคโนโลยีที่มีความน่าสนใจเนื่องจาก มีความเร็วสูง และรองรับระยะทางการให้บริการได้ไกล ในบทความนี้จะกล่าวถึงวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในยุคต่างๆ รวมถึงการเปรียบเทียบเทคโนโลยีที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน และแนวโน้มของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในอนาคต
คำสำคัญ: การสื่อสารไร้สาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครือข่ายความเร็วสูง 3G ไวแม็กซ์
Abstract
Currently, wireless communication technology influences the life of people in information technology era. Such technology has been standardized for efficient usage. The wireless communication technology is developed from 1G, 2G and 3G based on data transmission on mobile phones such as GPRS, EDGE, WCDMA or CDMA2000. In addition, wireless network standard for personal computers arises including Wi-Fi and WiMAX. This technology is developed in terms of speed and transmission distance. WiMAX is especially an interesting technology due to high speed and long distance support. In this article, the evolution of wireless communication technology is described. The comparison of current technology and the trend of wireless communication technology in the future will be discussed.
Keywords: Wireless Communication, Mobile Phone, Broadband Network, 3G, WiMAX
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
เศรษฐพงส์ มะลิสุวรรณ. (2553). BWA คือ อะไร.สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2554, จาก Communica-tion Center on the Internet เว็บไซต์: http://www.torakom.com
สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (2549). รายงานการศึกษาแนวทางการจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี WiMAX ในประเทศไทย. สิงหาคม 2549.
สุภาวดี อร่ามวิทย์. (2553). การสื่อสารอนาคตในยุคแถบความถี่กว้าง. สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2554, จากสมาคมวิชาการไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมและสารสนเทศ (ECTI) เว็บไซต์: http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/99
อำนาจ มีมงคล และอรรณพ ขันธิกุล. (2553). ออกแบบและติดตั้งระบบ Wireless LAN. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.
อรรคพล ยุตตะกรณ์.(2554). WiMAX ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2554, จาก Wimax in Thailand เว็บไซต์: http://www.wimax.in.th
Etemad, K. (2008). Overview of Mobile WiMAX Technology and Evolution. IEEE Communi-cations Magazine, 46(10), 31-40.
Shalid, M., Shoulian, T., & Shan, A. (2008). Mobile Broadband: Comparison of Mobile WiMAX and Cellular 3G/3G+ Technologies. Information Technology Journal, Asian Network for Scientific Information.
Varshney, U. (2000). Recent Advance in Wireless Networking. IEEE Computer Magazine, 33(6), 100-103.
Walke, B., Mangold, S., & Berlemann, L. (2006). IEEE 802 Wireless Systems. John Wiley & Sons.Wimaxforum. (2010). Wimaxforum. Retrieved January 11, 2011, Website: http://www.wimaxforum.org
Wineberrywinter. (2010) Internet & Communica-tion Technology (ITM 640). Retrieved April 19, 2011, from Wineberrywinter’s Blog Website: http://wineberrywinter.wordpress.com