การประเมินหลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับบรรณารักษ์ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยนักศึกษาหลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 32 คน ผู้ใช้บัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามสำหรับนักศึกษาและแบบประเมินของผู้ใช้บัณฑิต โดยใช้รูปแบบซิป (CIPP Model) เป็นกรอบการประเมินหลักสูตร
ผลการวิจัยพบว่า 1) มีการจัดสภาพแวดล้อมของหลักสูตร 2) ด้านปัจจัยนำเข้าพบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจด้านอาจารย์ผู้สอนสูงสุด รองลงมาคือ การจัดหลักสูตรและสื่อ/เอกสาร อุปกรณ์และสถานที่สำหรับจัดการเรียนการสอน 3) ด้านกระบวนการ พบว่า นักศึกษาพอใจด้านการจัดการเรียนการสอนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการเรียนการสอนมากที่สุด มีการวัดและประเมินผลเป็นไปตามระเบียบกฎเกณฑ์และข้อตกลงที่กำหนดไว้ล่วงหน้า และ 4) ผลผลิต พบว่า นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาในหลักสูตร ร้อยละ 96.87% การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ในมิตินักศึกษาประเมินตนเองพบว่า นักศึกษาประเมินตนเองด้านความรู้ ทักษะทางปัญญาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบมากที่สุด ส่วนมิติของผู้ใช้บัณฑิตพบว่า ผู้ใช้บัณฑิตประเมินด้านความสามารถทั่วไปสูงสุด รองลงมาคือ ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและความสามารถเฉพาะวิชาชีพ
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
American Library Association. (2009). ALA’s Core Competences of Librarianship. Retrieved March 2, 2017, from https://www.ala.org/educationcareers/sites/ala.org
Chintapanyakun, T., Ruaengsri, S., Laksana, K. & Lhongsap, P. (2017). The new curriculum evaluation: CIPPIEST model. Journal of the Police Nurses, 9(2), 203-212. [in Thai]
Falloon, G. (2013). Young students using iPads: App design and content influences on their learning pathways. Computers & Education, 68, 505-521.
Kananun, S. (2005). Evaluation of curriculum for the degree of master of education in education in educational administration at Rajabhat Institute Uttaradit. Mater of Education (Education Administration), Uttaradit Rajabhat University. [in Thai]
Levin, G. (2001). Statement for Graphic Design in the 21st Century (Taschen). Retrieved March 2, 2017, from https://www.flong.com/texts/essays/statement_taschen
Mettarikanon, D. & Juychu, D. (2016). Essential Competencies for LIS Students: Fostering the 21st Century Librarian. Journal of Library and Information Science, SWU., 9(2), 87-97. [in Thai]
Nillapun, M. (2012). The Evaluation of Master of Education in Curriculum and Supervision Faculty of Education Silpakorn University. Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University. [in Thai]
Offce of the Higher Education Commission. (2009). Thai Qualifcations Framework for Higher Education, TQF: HEd. Bangkok: Ministry of Education. [in Thai]
Ornstein, A. & Hunkins, F. (2013). Curriculum: Foundations, Principles, and Issues (6th ed). Boston, MA: Pearson.
Panich, V. (2011). Creating 21st Century Learning. Bangkok: Tathata Publication. [in Thai]
Phupan, S. (2003). Concept for the creation and curriculum development. Chiang Mai: The knowledge center. [in Thai]
Polsaram, P. (2006). The research trend and education development for future. Bangkok: Office of the Education Council, Ministry of Education. [in Thai]
Prasertsuk, N., Pooput, K., Rotjanalert, N., Karnchanaporn, L., Sookanan, S., Phayomyaem, S. & Buranawanna, S. (2008). The Curriculum Evaluate Master of Arts Program in Community Psychology, Silpakorn University. Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University. [in Thai]
Provus, M. N. (1971). Discrepancy evaluation for educational program improvement and assessment. Berkely, CA: McCutchan.
Ptak-banchak, A. (2012). 21st Century Librarians for 21st Century Libraries. Retrieved May 20, 2017, from https://docs.lib.purdue.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1091&context=iatul Soutter
Sarawanawong, J., Sasithanakornkaew, S., Vantamay, N., Chantrdee, W. & Ngernpoolsap, D. (2012). The Evaluation of the Master of Arts Program in Communication Arts and Information B.E. 2552 Kasetsart University. Journal of Library and Information Science, SWU, 5(2), 89-101. [in Thai]
Scriven, M. S. (1973). Goal-Free Evalution. In Ernest R. House (Ed.). School Evaluation: The Politics and Process. Berkeley: McCutchan Publishing Company.
Special Libraries Association. (2016). Competencies for Information Professionals. Retrieved May 20, 2017, from https://www.sla.org/about-sla/competencies
Stake, R. E. (1975). To evaluate an arts program. In R. E. Stake (Ed.). Evaluating the arts in education: A responsive approach. (pp. 13-31). Colombus Ohio: Merrill.
Stufflebeam, D. L. (2008). The CIPP model for evaluation in national conference on educational research 17-18 January 2008. Phitsanulok: Faculty of Education Naresuan University.
Stufflebeam, D. L. & Coryn, C. L. S. (2014). Evaluation: Theory, models and applications (2nd ed.). San Francisco: Jossey-Bass.
Suan Dusit Rajabhat University. (2013). Bachelor of Arts Program in Library and Information Science 2556. Bangkok: Suan Dusit Rajabhat University. [in Thai]
Thanuskodi, S. (2015). Professional Competencies and Skills for Library and Information Professionals: A Present-day Scenario. Retrieved May 20, 2017, from https://www.consalxvi.org/sites/default/fles/10-S.%20Thanuskodi.pdf
The National Economics and Social Development Board. (2017). The Eleventh National Economic and Social Development Plan (2017-2021). Bangkok: Offce of the National Economics and Social Development Board. [in Thai]