แนวทางการพัฒนาความสุขในองค์การ กรณีศึกษาองค์การความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการเพิ่มระดับความสุขในองค์การและศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับความสขุ ภายในองค์การ โดยกลุ่มตัวอย่างถูกเลือกมาจากองค์การความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน เนื่องจากความพร้อมด้านวัยวุฒิและคุณวุฒิที่เหมาะสม ประกอบกับประสบการณ์ทำงานและผลงานที่อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม อีกทั้งยังเป็นบุคคลตัวอย่างในการทำงานจนผู้บังคับบัญชาพิจารณาให้เลื่อนรับตำแหน่งสูงสุดนายทหารชั้นประทวน
ผลการศกึ ษาพบว่า ระดบั ความสุขในการทำงานมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านครอบครัว ดังนั้นแนวทางในการพัฒนาองค์การแห่งความสุขควรคำนึงถึงปัจจัยของความสุขในการปฏิบัติงานประกอบกับแนวคิดในเชิงการบริหารองค์การหรือหน่วยงานด้วย ซึ่งผู้บังคับบัญชาไม่ควรมุ่งที่ผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก ผู้บังคับบัญชาควรคำนึงถึงผลที่อาจจะกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ในการพัฒนาความสุขของการปฏิบัติงานเป็นศิลปะที่ผู้นำทุกระดับจำเป็นที่จะต้องตระหนักและทำความเข้าใจ
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
Boonyachotima, R., Pompol, W., Pojanasit, S., Thongnat, O. & Borrisut, S. (2014). The Happiness Exploration of Staffs in Trauma and Emergency Nursing Department, Phramongkutklao Hospital. Journal of the Royal Thai Army Nurses, 15(2), 252-260. [in Thai]
Layard, R. (2005). Happiness: Lessons from a New Science. New York: The Penguin Press.
Sawangwong, K. (2017). Happiness through the View of Buddhism. Journal of the Buddhist College of Lampang, 2(2), 22-27. [in Thai]
Sucaromana, A. (2017). Resilience Quotient: RQ. Journal of MCU Peace Studies (JMPS), 4(1), 209-220. [in Thai]
Thochampa, V. (2016). Factors affecting The Operational Effectiveness of None Commissioned Offcers of the 1st Antiaircraft Artillery Regiment. Graduate College of Management, Sripatum University. [in Thai]
Thongtanunam, Y., Thammakul, D., Prasertsin, A., Cheunsirimongkol, J. & Kruttakart, S. (2015). Factors associated with happy workplace (public sector organization): A systematic review. Journal of Health Science Research, 9(1), 32-40. [in Thai]