บทบาทของสภามหาวิทยาลัยในการบริหารทรัพยากรบุคคล ตอนที่ 1: กรอบความคิด ตัวแบบ และการกำหนดทิศทาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
สภามหาวิทยาลัยเป็นองค์กรสูงสุดในการบริหารงานสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดกลยุทธ์ นโยบาย กำกับดูแล และมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียของประชาคมอุดมศึกษา นอกจากนั้น ยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดปรัชญา ค่านิยม วิสัยทัศน์ วัฒนธรรมองค์กร และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเน้นภารกิจประจำ เช่น การสรรหา แต่งตั้งผู้บริหาร และการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการเป็นส่วนใหญ่ บทความนี้จึงได้นำเสนอบทบาทของสภามหาวิทยาลัยในระดับกลยุทธ์ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ใน 5 มิติ คือ มิติการวางแผนกำลังคนและการสรรหา การบริหารผลงาน การบริหารความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์กร การพัฒนาและการสร้างบุคลากรทดแทน และการจัดระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์บนฐานสมรรถนะ เพื่อให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทันต่อสถานการณ์ของโลก
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
คณะอนุกรรมาธิการอุดมศึกษาวุฒิสภา. (2553). ธรรมาภิบาลและอํานาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย, ใน ไพฑูรย์สินลารัตน์ (บรรณาธิการ) กรรมการสภามหาวิทยาลัย : ภารกิจใหม่ กับ อุดมศึกษาใหม่ กรุงเทพฯ: ที่ประชุมกรรมการสภามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.
จําเนียร จวงตระกูล. (2553 ก), การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์: ทฤษฎีและการปฏิบัติ.กรุงเทพมหานคร, บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด.
ปรัชญา เวสารัชซ์. (2553). บทบาทหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ) กรรมการสภามหาวิทยาลัย : ภารกิจใหม่ กับ อุดมศึกษาใหม่, กรุงเทพฯ: ที่ประชุมกรรมการสภามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.
เปรื่อง กิจรัตน์กร. (2553) มุมมองเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐ. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องบทบาทของสภามหาวิทยาลัยกับการกํากับนโยบายในสหรัฐอเมริกา: ประสบการณ์จากการศึกษาดูงานเพื่อการพัฒนาสภามหาวิทยาลัยของไทย 20 พย. 2552 ณ โรงแรม แกรนด์เมอร์เคียวฟอร์จูน.
พิณสุดา สิริธรังศรี. (2553) รายงานการวิจัยเรื่องภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ปี กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553), สัตตการของกรรมการสภามหาวิทยาลัยกับความรู้ที่เกี่ยวข้อง. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์(บรรณาธิการ) กรรมการสภามหาวิทยาลัย : ภารกิจใหม่ กับ อุดมศึกษาใหม่ กรุงเทพฯ: ที่ประชุมกรรมการ สภามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2521
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2530
พระราชบัญญัติ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
ภาวิช ทองโรจน์. (2553). สภามหาวิทยาลัยกับหลักการบรรษัทภิบาล. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ) กรรมการ
สภามหาวิทยาลัย: ภารกิจใหม่กับอุดมศึกษาใหม่, กรุงเทพฯ: ที่ประชุมกรรมการสภา มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.
เลิศชัย สุธรรมานนท์. (2553), ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทย. รายงานการวิจัย สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.
วิจิตร ศรีสอ้าน. (2553). บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ. ในไพฑูรย์ สินลารัตน์(บรรณาธิการ) กรรมการสภามหาวิทยาลัย: ภารกิจใหม่กับอุดมศึกษาในใหม่, กรุงเทพฯ: ที่ประชุมกรรมการสภามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เป็นเลิศ 2552-2553.กรุงเทพ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). คู่มือการประกันคุณภาพภายใน กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
สํานักงานคณะกรรมการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน), (2553). คู่มือการประกันคุณภาพภายนอกรอบสามระดับอุดมศึกษาฉบับสถานศึกษา พ.ศ. 2554. กรุงเทพ: สํานักงานคณะกรรมการรับเรื่องมาตรฐานและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
Armstrong, M. (2006). A Handbook of Human Resource Management Practice, London: Kogan Page.
Dean Stamoulis. (2009). Senior Executive Assessment: A Key to Responsible Corporate Governance,West Sussex : Wiley-Blackwell Publishing.
Garavan, N. (2007). A strategic Perspective on Human Resourece Development. Advance in Developing Human Resource, February 9(1).
Gupta, S. (2008). Leading HR for High Performance in Higher Education. London: Royal Charter Registered Charity.
Higher Education Funding Council For England (2005). Researchers in Higher Education Institution.Retrieved August 28, 2013 from www.hefec.ac.uk.
Higher Education Funding Council For England (HEFCE). (2010). The Higher Education Workforce Framework 2010. Retrieved August 28, 2013 from www.hefec.ac.uk.
Robert I. Tricker. (1994). International Corporate Governance : Text Readings and Cases. New York:Prentice Hall.