เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
เมื่อสังคมโลกได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการนำเทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ครูในศตวรรษที่ 21 จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเรียนรู้ ให้เท่าทันยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย ทั้งนี้ต้องพัฒนาทักษะด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในวงการศึกษา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อให้สามารถชี้แนะและส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลา นอกจากนี้ ครูไทยในอนาคตยังต้องมีความรู้จริงในเรื่องที่สอน และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรียนทำงานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และแสดงออกซึ่งความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน ทั้งนี้กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ หากทุกภาคส่วนช่วยกันหาทางลดปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาครู ซึ่งแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 นั้น ต้องดำเนินการทั้งด้านนโยบายและด้านการพัฒนาตนเองของครูควบคู่กันไป จึงจะทำให้ครูเป็นครูยุคดิจิทัลอย่างแท้จริง
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553), พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปี 2553. สืบค้นเมื่อ18 กันยายน 2556, จาก http://203.146.15.33/
กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). ศธ.จี้ครูปรับบทบาทใหม่ทันกับเทคโนโลยีสอนเด็ก. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556,จาก http://www.moe.go.th/
กําจร ตติยกวี. (2555), ทิศทางเครือข่ายการศึกษาแห่งชาติ (NEdNet). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2556, จากhttp://203.172.205.25/
กลิ่น สระทองเนียม. (2556). การศึกษาชาติ รู้ปัญหาต้องเร่งผ่าตัด. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 27 สิงหาคม 2556(รอบบ่าย). สืบค้นเมื่อ 18 ก.ย. 2556, จาก http://www.kruthai.info/
ข่าวสํานักงานรัฐมนตรี 212/2556. (2556). 8 นโยบายการศึกษา “จาตุรนต์ ฉายแสง” สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556,จาก http://www.moe.go.th/websm/2013/juV212.html
ข่าวสํานักงานรัฐมนตรี 256/2556. (2556). รมว.ศธ.ปาฐกถาพิเศษ การศึกษาสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่. สืบค้น เมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.moe.go.th/websm/2013/aug/256.html
ข่าวสํานักงานรัฐมนตรี 275/2556. (2556). รมว.ศธ.เปิดการเสวนา ICT เพื่อปฏิรูปการเรียนการสอน. สืบค้นเมื่อ18 กันยายน 2556, จาก http://www.moe.go.th/
ข่าวกระทรวงศึกษาธิการ. (2556). รมว.ศธ.มอบนโยบายแนวทางการผลิตครูให้สอดคล้องกับความต้องการ. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2556, จากhttp://www.thaigov.go.th/
ครูในศตวรรษที่ 21. (2556). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.aircadetwing.com/
คุรุสภา, มาตรฐานการประกอบวิชาชีพะมาตรฐานวิชาชีพครู. (2553). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.ksp.or.th/
จันทวรรณ ปิยะวัฒน์. (2556), สกัดความรู้จากโครงการ “สรอ.ขอความรู้” ทักษะของครูในศตวรรษที่ 21. สืบค้น เมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.schoolweb.in.th/
จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์. (2555), จับกระแสการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 : ข้อคิดและทิศทางเพื่อการพัฒนาครูไทย สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.ramajitti.com/
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (ม.ป.ป.). การเรียนรู้ในยุคสมัยหน้า: ตอนรูปแบบและทฤษฎี การเรียนรู้อนาคต. สืบค้นเมื่อ18 กันยายน 2556, จาก http://thanompo.edu.cmu.ac.th
บํารุง เฉียบแหลม. (ม.ป.ป.). ข้อมูลจําเพาะสําหรับศูนย์บริการ (MOENet Service). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2556 จาก http://www.moe.go.th/stm/read/moenet.shtml
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของการทําหน้าที่ครู. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.kruthai.info/view.php?article_id=3693
ปัจจัยส่งเสริมการทําหน้าที่ของครูให้เกิดประสิทธิภาพ. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.kruthai.info/view.php?article_id=3693
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2556). เปิด 6 อุปสรรคการทํางานครูไทย สอนหนัก ขาดจิตวิญญาณ ไร้ทักษะ ICT. สืบค้นเมื่อ18 กันยายน 2556, จาก http://www.enn.co.th/5942
ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์. (2556). อนาคตครูไทย กับสื่อการเรียนการสอน D-book ในยุค Tablet. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.kku.ac.th/news/
รุ่ง แก้วแดง. (2543), การศึกษากับกําลังอํานาจของชาติ. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://onec.go.th/pubplication/4312019/tea_poll.pdf
รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์. (2556). เปิด 6 อุปสรรคการทํางานครูไทย สอนหนัก ขาดจิตวิญญาณ ไร้ทักษะ ICT. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.enn.co.th/5942
วิจารณ์ พานิช. (2555) ครูแห่งศตวรรษที่ 21 ต้องช่วยแก้ไขความรู้ผิดๆ ของนักเรียน. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556,จาก http://tripsm.wix.com/
________(2555). บทบาทหน้าที่ของครู และการทดสอบมาตรฐานในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556 จาก http://tripsm.wix.com/ -
________(2555). เปิด 6 อุปสรรคการทํางานครูไทย สอนหนัก ขาดจิตวิญญาณ ไร้ทักษะ ICT. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน2556, จาก http://www.enn.co.th/5942
ศิริวรรณ นักรู้. (2556). ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อการจัดการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://
www.learners.in.th/blogs/posts/535256
สํานักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. (2556). สรุปการสัมมนาระดับชาติ การศึกษาเพื่อปวงชนกับองค์การยูเนสโก สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.bic.moe.go.th/
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.nesdb.go.th
สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ. (2553). การเปลี่ยนแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาสู่ “ครูมืออาชีพ”ใน สุดาพร ลักษณียนาวิน (บรรณาธิการ). (2553). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง.สมาคมเครือข่ายการพัฒนา วิชาชีพอาจารย์และองค์กรอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
Orakwo. (2012). Teachers' Challenges in 21st Century : Pedagogy, Standardized Testing, and Paychecks. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://tripsm.wix.com/21st#1-21/c6he
Unesco. (1996). Report to UNESCO of the International Commission on Education for the Twenty-FirstCentury. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.unesCo.org/education/pdf/15 62.pdf
UNESCO Institute of Statistics. (2000). Hours of instruction for pupils aged 11 (most recent)
by Country. อ้างถึงใน เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน? สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://whereis thailand.info/2012/01/pupils-class-hours/