การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของวัดในกลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์

Main Article Content

อารีย์ นัยพินิจ
ฐิรชญา มณีเนตร
ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร
ภัทรพงษ์ เกริกสกุล

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ธวัช ปุณโณทก. (2532). อีสาน: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต, การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง วัฒนธรรมพื้นบ้าน:กรณีอีสาน,30 มิถุนายน–2กรกฎาคม 2532 ณ วิทยาลัยครู จังหวัดอุบลราชธานี.กรุงเทพฯ:บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด.

บัวพันธ์ พรหมพักพิง.(2545).รายงานการวิจัยเรื่อง เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กรณีศึกษาบ้านท่า.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

มนู วัลยะเพ็ชร์.(2520). การตั้งถิ่นฐานในชนบทของประเทศไทย.ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร: นครปฐม.

รสิกา อังกูร. (2545).รายงานการวิจัยเรื่องความพร้อมของวัดในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยผ่านการนำชมศิลปวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ:สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วัชราภรณ์ ระยับศรี.(2551).พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงพุทธของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่มาเที่ยววัด ในบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิโรฒ ศรีสุโร.(2538). เถียงนาอีสาน: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี อุดรธานี ยโสธร กาฬสินธุ์และสกลนคร.คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุจินต์ สิมารักษ์และสุเกสินี สุภธีระ.(2530).คู่มือการประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid rural appraisal manual). โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุดาทิพย์ นันทโชค. (2555). พฤติกรรมการท ่องเที่ยวเชิงศาสนาในเขตจังหวัดสิงห์บุรีของนักท่องเที่ยวสูงอายุ.ประชุมเชิงวิชาการ SWUMBA Research Conference.17 กรกฎาคม 2555 ณ โรงแรมจัสมิน เอ็กเซกคิวทีฟ สวีท.กรุงเทพฯ.

สุวิทย์ ธีรศาศวัตและดารารัตน์ เมตตาริกานนท์.(2541).ประวัติศาสตร์อีสาน หลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน. ภาควิชาประวัติศาสตร์และโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Godfrey, K.andClarke, J.(2000). The Tourism Development Handbook. London: Cassell.