การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

เจษฎา นกน้อย
สัญชัย ลั้งแท้กุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช และ 2) พัฒนาแนวทางในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยเก็บข้อมูลจากประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนประเภทอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่สินค้าได้รับการคัดสรรเป็นสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ระดับประเทศปี 2553 ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการควรดำเนินการดังต่อไปนี้ 1) ควรขนส่งวัตถุดิบด้วยตัวเอง   2) ควรมีสถานที่เก็บรักษาวัตถุดิบที่ได้มาตรฐาน 3) ควรหาแนวทางแก้ปัญหาการผลิตสินค้าเกษตร 4) ควรวางแผนการผลิตอย่างรัดกุม 5) ควรคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 6) ควรหาผู้ขายปัจจัยการผลิตหลายๆ ราย 7) ควรฝึกอบรมเทคโนโลยีใหม่แก่พนักงาน 8) ควรนำหลักการจัดการความรู้มาใช้ 9) ควรเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย และ 10) ควรให้ความสำคัญกับการบริการลูกค้า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2546). โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.thaitambon.com

จิตต์ใส แก้วบุญเรือง. (2546). การดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ประสบความสำเร็จในจังหวัดลำปาง.การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2542). ธุรกิจชุมชน: เส้นทางที่เป็นไปได้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว).

เดชรัต สุขกำเนิด. (2542). วิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.doac.go.th

ทิพย์วิมล อุ่นป้อง. (2550). วิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ผ้าทอบางกลุ่มภายใต้โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ธนาวิทย์ บัวฝ้าย. (ม.ป.ป.). ธุรกิจชุมชน: แนวทางในการพัฒนาชนบท. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.hu.ac.th/academic/article/Mk/Business%20 community.html

บุษกร นุเกตุ. (2548). การดำเนินงานของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับจังหวัด ของจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2540). รายงานการสำรวจสถานะความรู้เกี่ยวกับธุรกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เอกสารอัดสำเนา).

พัลลภา สินธุวารินทร์. (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมประเภทอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ไพฑูรย์ ภิระบัน. (2550). ปัจจัยความสำเร็จของสินค้าประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดพะเยา. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภิตินันท์ อินมูล. (2554). การวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงานของกลุ่มผู้ผลิตผ้าทอมือภายใต้โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มงคล ด่านธานินทร์. (2541). เศรษฐกิจชุมชน: พึ่งตนเองเชิงระบบ หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

รังสรรค์ ปกติปัญญา. (2542). ธุรกิจชุมชน: รากฐานการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

รัชชา แดนโพธิ์. (2549). การจัดการปัจจัยการผลิตของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสำหรับสินค้าประเภทของใช้และของประดับตกแต่ง ในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตร-มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วสันต์ เสือขำ. (2547). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกระดับ 5 ดาว ในระดับภูมิภาค: กรณีศึกษาสินค้าประเภทอาหารในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.วาสนา เพิ่มพูน. (ม.ป.ป.). กระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยกับการพัฒนาธุรกิจชุมชนให้เข้มแข็ง. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2555, จาก http://edu.swu.ac.th/ae/websnong/web01/web451%5Cwisdom2.htm

ศิวรัตน์ กุศล. (2548). ศักยภาพของวิสาหกิจท้องถิ่นในหมู่บ้านถวายในการเข้าสู่โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์.การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัญชลี พูนชัย. (2547). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของสินค้าที่ได้รับการคัดสรรเป็นสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ในระดับภาค กรณีศึกษาสินค้าประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย ในจังหวัดนครราชสีมา. การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Noknoi, C., Boripunt, W. & Lungtae, S. (2012). Key success factors for obtaining a One Tambon One Product food five-star rating in Phatthalung and Songkhla provinces. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, 48(May), 96-103.

Lungtae, S. & Noknoi, C. (2012). Logistics and supply chain management of One Tambon One Product in Songkhla province: a case study of KohYo hand-woven fabric. European Journal of Social Sciences, 29(4), 561-568.

Translated Thai References

Aunpong, T. (2007). Potential analysis of the textile products manufacturer in the One Tambon One Product project in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai]

Boufai, T. (n.d.). Community enterprise: An approach to rural development. Retrieved July 8, 2012, from http://www.hu.ac.th/academic/article/Mk/Business%20community.html [in Thai]

Community Development Department. (2003). One Tambon One Product Project. Retrieved July 1, 2012, from http://www.thaitambon.com [in Thai]

Danpho, R. (2006). The inputs management for the use and decorations community enterprise in One Tambon One Product project in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai]

Danthanin, M. (1998). Economic community: a system of self-reliance, principles and practices.Bangkok: Se-education. [in Thai]

Inmun, P. (2011). The potential analysis of the performance of a group of hand-woven fabric in the One Tambon One Product in Uttaradit province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai]

Kaewbunreung, J. (2003). The successful One Tambon One Product in Lampang province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai]

Kuson, S. (2005). The potential of local enterprises in Thawai village for entering the One Tambon One Product project. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai]

Nukate, B. (2005). The operation of the manufacturer who has been selected the top provincial 5-star OTOP of Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University. [in Thai]

Permpun, W. (n.d.). Learning process as hospitable to the development of a strong business community. Retrieved July 25, 2012, from http://edu.swu.ac.th/ae/websnong/web01/web451%5C wisdom2.htm [in Thai]

Petprasert, N. (1999). Business community: the possible path. Bangkok: Office of Research Fund. [in Thai]Piraban, P. (2007). Key success factors of fabrics and apparel OTOP in Phayao province. Independent Study, Chiang Mai University. Chiang Mai. [in Thai]

Pitipanya, R. (1999). Business community: Foundation for country development. Bangkok. [in Thai]

Punchai, A. (2004). Key success factor of the regional 5 star OTOP: the case study of fabrics and apparel in Nakhonratchasima province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai]

Sinthuwarin, P. (2002). Key success factors of fabrics and apparel OTOP in Chiang Mai province.Thesis, Maejo University, Chiang Mai. [in Thai]

Suekam, W. (2004). Factors affecting the success of 5-star regional OTOP products: a case study of food products in Chiang Mai province. Independent Study, Chiang Mai University, Chiang Mai. [in Thai]

Sukkamnerd, D. (1999). Community enterprise. Retrieved July 5, 2012, from http://www.doac.go.th [in Thai]

Walaisatian, P. (1997). Report of the knowledge about community business. Bangkok: Thailand Research Fund (TRF). [in Thai]