การบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาอาชีพในประเทศไทย กรณีศึกษา บริษัทไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาที่เหมาะสมของประเทศ กรณีศึกษากีฬาอาชีพฟุตบอล ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการสื่อมวลชนกีฬาของบริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด กับรูปแบบสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ นำไปสู่การกำหนดเป้าหมายเชิงวิสัยทัศน์ คือ “มีระบบการบริหารสื่อมวลชนที่มีมาตรฐานระดับโลก เป็นที่สนใจของประชาชนทั่วไป และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกีฬาฟุตบอลไทย” แบ่งเป็นยุทธศาสตร์ 5 ข้อ ได้แก่ 1) การจัดตั้งทีมงานบริหารสื่อมวลชนและมีบทบาทอย่างมืออาชีพ 2) การจัดระเบียบสื่อมวลชนและความเรียบร้อย 3) การสร้างมาตรฐานสากลให้กับทุกภาคส่วน 4) การสนับสนุนและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และ 5) การดำเนินการเพื่อรองรับเหตุเฉพาะหน้า ผลลัพธ์ของการศึกษา มุ่งหวังการใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการสื่อมวลชนให้มีการแข่งขันอย่างเป็นมืออาชีพ รวมถึงการนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจการกีฬาและการบันเทิงต่อไปในอนาคต
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ: กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา.
การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2554). กีฬาเพื่อการอาชีพ. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2554, จาก http://www.sat. or.th/th/sport-forprofessional/index.aspx
สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). เกี่ยวกับ “ทีพีแอลซี” สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2555, จาก http://thaipremierleague.co.th/2015/about_ tpl.php?nid=00643
สรายุทธ มหวลีรัตน์. (2554). อิทธิพลของสื่อต่อการเป็นปัจจัยดึงดูดให้ผู้ชมติดตามการแข่งขันฟุตบอล ไทยพรีเมียร์ลีก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สูตรไพศาล.
Balliet, D. (2011). Communication and Cooperation in Social Dilemmas: A Meta-Analytic Review. Journal of Conflict Resolution, 54(1) 39–57.
Cornelissen, S. & Stewart, K. (2011). The 2010 Football World Cup as a political construct: the challenge of making good on an African promise. The Sociological Review, (72)2, 80-85.
Kitchen, P. J., Kim, I. & Schultz, D. E. (2008). Integrated Marketing Communications: Practice Leads Theory Journal of Advertising Research, December. 532-546.
Suthammanon, L. (2014). The Role of University Counsil in Human Resource Management Phrase 1: Framework, Model and Direction. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 145-155.
Suthammanon, L. (2014). University Counsil Roles in Human Resource Management Phrase 2: Strategic, Human Resource Management. Panyapiwat Journal,5(Special Issue), 156-168.
Translated Thai References
Football Association of Thailand under Patronage of His Majesty the King. (2012). About TPL Company. Retrieved May 20, 2012, from http://thaipremierleague .co.th/2015/about_ tpl.php?nid=00643[in Thai]
Mawaleerat, S. (2554). The influence of media toward following football matches of the Thailand Premier League. Bangkok: Sripatum University. [in Thai]
Ministry of Tourism & Sports. (2554). Fourth National Sports Development Plan (B.E 2550-2554).Bangkok: Ministry of Tourism & Sports. [in Thai]
Office of the National Economic and Social Development Board, Office of the Prime Minister. (2550). Tenth National Sports Development Plan. (B.E 2550-2554). Bangkok: Suthpaisal Publishing. [in Thai]
Sports Authority of Thailand. (2554). Professional sports. Retrieved March 31, 2011, from http://www.sat.or.th/th/sport-forprofessional/index.aspx [in Thai]