การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สำนักงานพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต1 (สพป.กพ 1) ก่อนและหลังเรียนด้วยการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร โดยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR และ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 ที่มีต่อการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR ประชากรที่ใช้ในวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 245 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนวัดคูยาง สพป.กพ 1 จำนวน 42 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR แบบวัดทักษะการสื่อสารภาษาจีน ด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน จำนวน 40 ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้การเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR เป็นแบบประมาณค่า 3 ระดับ จำนวน 10 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า ทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจำแนกรายทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน พบว่า ทุกทักษะมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีตอบสนองด้วยท่าทาง TPR โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
เกศินี วัชรเสถียร. (2542). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ และการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สถาบันเอเชียศึกษาศูนย์จีนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย: ระดับประถม - มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์จีนศึกษา.
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2548). ระบบภาษาจีนกลาง. วารสารภาษาจีนพื้นฐานเพื่อการสื่อสาร, 2, 215-330.
ปริศนา บุตรจันทร์. (2556). การพัฒนารูแบบการจัดการความรู้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนบ้านขุมคำ อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ฉบับพิเศษ: 548-562.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545): 103. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ: สุวีรยาสาส์น.
มณี อินทพันธ์. (2553). การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง: วิวัฒนาการและการนำไปใช้กับผู้เรียนต่างบุคลิกภาพรูปแบบการเรียนและระดับความสามารถทางภาษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ศิริวรรณ มาลัย. (2549). การเปรียบเทียบความสามารถในการฟัง-การพูดและความเชื่อมั่นในตนเองต่อการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธีการสอนแบบ T.P.R (Total Physical Response) ประกอบสื่อในชีวิตประจำวันกับการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ ก.ศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยจีน. (2557). สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/index.php
สมโภชน์ ธรรมแสง. (2544). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา, มหาวิทยาขอนแก่น.
สุวิไล เปรมศรีรัตน์, มยุรี ถาวรพัฒน์, ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร, อิสระ ชูศรี, มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์ และยูเนียนสาสมีต้า.(2553). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
อรอนงค์ นิมาชัยกุล. (2553). การใช้เทคนิค TPR (Total Physical Response) พัฒนาการเรียนรู้ประโยคภาษาฝรั่งเศสของนักศึกษาระดับ ปวส.พ.2 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว. เชียงใหม่: โรงเรียนพานิชยการเชียงใหม่.
Asher, J. (1979). Learning Another Language through Actions: The complete teacher’s guidebook. San Jose California: Accu Print.
Mattisson, J. (2011). Using TPR Method in Teaching English Adjectives. Retrieved July 20, 2013, from www.diva-portal.org
Sariyati, I. (2012). The effectiveness of TPR (Total Physical Response) method in English Vocabulary Mastery of Elementary School Children. Retrieved December 28, 2013, from www.ejournal.undip.com
Translated Thai References
Butchan, P. (2013). The development of a knowledge management for teaching English. Ban Khum Kham School Si Chiang Mai District Nong Khai. Journal of Education Maha Sarakham University, Special Issue, 548-562. [in Thai]
Inthaphan, M. (2010). Teaching Total Physical Response: Evolution and adoption of different for different learning style and language ability level. Thesis of Master Degree. Teaching English as an international language, Prince of Songkla University. [in Thai]
Institute of Asian Studies Chulalongkorn University. (2008). Teaching Chinese in Thailand: Primary and Secondary Education. Bangkok: Chinese Studies Center. [in Thai]
Malai, S. (2006). Comparing the ability of listening - speaking and confidence of using English of eighth grade students by using Total Physical Response assembled media on a daily basis with the teaching Instruction. Master of Education, Srinakharinwirot University. [in Thai]
Manomaiwibun, P. (2005). The Mandarin. Chinese Journal of Communication, 2, 215-330. [in Thai]
Ministry of Education. (2008). The Basic Education Curriculum 2008. Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. [in Thai]
Nimachaikun, O. (2010). Using TPR techniques (Total Physical Response) for learning development of French sentence for High Vocational Certificate. Businesses tourism management department. Chiang Mai: Chiangmai Commercial College. [in Thai]
Premsirat, S. and etc. (2007). The teaching and learning by using local language and Thai language as Media: Case study management of Bilingual Education. (Thai - Malay dialect) in the area of four provinces of Southern Border Bangkok. Institute of Language and Culture for Rural Development. Mahidol University. [in Thai]
Premsrirat, S., Traworaphat, M., Aungsitipunpon, S., Chusri, A., Burarongrod, M. & Unisamintra. (2011). The Learning and Teaching Arrangement by Using Local Language and Thai Language : Case od Bilingual (Thai-Local Malay) Education Management in the School in 4 Boarder Line Provinces of the South. Language and Culture Research Instiute of Rural Development Mahidol University.
Srisaart, B. (2002). The Basic of Research. (7th ed.). Bangkok Suveerayasat. [in Thai]
ThaiBiz in China Thailand Businsess Information Center in China. (2014). Retrieved February5, 2015, fromhttp://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/index.php
Thamasaeng, S. (2001). The Development of achievement for English learning for 2nd grade students by using Total Physical Response. Thesis of Master Degree of Education. Primary Education.,Graduate school of Khon Kaen University. [in Thai]
Watcharasathian, K. (1999). The Development of achievement for English learning by using cooperative learning and Total Physical Response Method for fifth grade students. Thesis of Master Degree. Teaching English Major, Graduate School Khon Kaen University. [in Thai]