ผู้สูงอายุในโลกแห่งการทำงาน: มุมมองเชิงทฤษฎีทางกายจิตสังคม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอลักษณะงานที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมตามมุมมองทฤษฎีทางกายจิตสังคมซึ่งจะให้ความสำคัญกับแนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่มีอิทธิพลร่วมกัน ทำให้สามารถเข้าใจและอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ได้อย่างครอบคลุมและเป็นลักษณะองค์รวม ได้แก่ ทฤษฎีทางด้านชีววิทยาที่เน้นอธิบายความชราภาพทางด้านกายภาพทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาที่เน้นอธิบายพัฒนาการทางบุคลิกภาพ (Erikson’s Psychosocial Development; Lewinson’s Adult Development และ Costa & MaCrae’s Big Five Personality) สติปัญญา (Wechsler’s Theory of Intelligence) แรงจูงใจ (Maslow’s Motivation Theory) ความเครียด (Karasek’s Job Strain Model) และทฤษฎีทางด้านสังคมที่เน้นอธิบายการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว เช่น ทฤษฎีกิจกรรม (Havighurst’s Activity Theory) ทฤษฎีการถอยห่าง (Cummings & Henry’s Disengagement Theory) ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Neugarten’s Continuity Theory) และทฤษฎีบทบาท (Role Theory) รวมทั้งแนวความคิดของภาวะธรรมทัศน์ในวัยผู้สูงอายุตามมิติด้านจิตวิญญาณ (Tornstam’s GerotranscendenceTheory) ผลจากการวิเคราะห์ในภาพรวม พบว่าลักษณะงานที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ คือ งานที่มีความเครียดต่ำ งานลักษณะจิตอาสา งานที่ได้รับการยอมรับจากสังคมและมีผลตอบแทนที่มุ่งเน้นไปในด้านสวัสดิการมากกว่าการตอบแทนเป็นตัวเงิน งานที่ผู้สูงอายุเคยมีประสบการณ์หรือมีความชำนาญ งานตามความสนใจ ซึ่งบทสรุปของบทความนี้จะนำไปสู่การพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของผู้สูงอายุต่อไป
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
งามตา วนินทานนท์. (2545). เอกสารคำสอนวิชา วป581 การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประพิศ จันทร์พฤกษา.(2537). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพและการมีส่วนร่วมในสังคมกับความพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปัทมา อมรสิริสมบูรณ์. (2535). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (วิจัยประชากรและสังคม), มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (ประชากรศึกษา), มหาวิทยาลัยมหิดล.
รวิวรรณ ลีมาสวัสดิ์กุล. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเอง ความว้าเหว่ และสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านจันทบุรี. สารนิพนธ์ วท.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลดารัตน์ สาภินันท์. (2545). ภาวะธรรมทัศน์ในวัยสูงอายุและการเตรียมตัวเกี่ยวกับความตายของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ พย.บ. (วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลัดดา สุทนต์. (2551). การใช้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีชมรมผู้สูงอายุในเครือข่ายของสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ. วิทยานิพนธ์ สส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริ และนงนุช อินทรวิเศษ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Czaja, S. J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology of Aging. Edited by Birren, J. E. & Schaie, K. W. 547-568.
California: Academic Press.
Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. New York: Norton.Kanfer, R. & Ackerman, P. L. (2004). Aging, Adult Development, and Work Motivation. Academy of Management Review, 29(3), 440-458.
Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50(4), 370-396.
Rudinger, G., et al. (1991). Aging and Modern Technology: How to Cope with Products and Services. Work and Aging: A European Perspective. Edited by Snel, J. & Cremer R. 163-172. London:
Taylor & Francis.Tornstam, L. (1994). Gerotranscendence – a Theoretical and Empiricalexploration. Aging and Religious Dimension. Edited by Thomas, L. E. & Eisenhandler S. A., 203-225. Greenwood Publishing Group: Westport.
Tornstam, L. (1996). Caring for the Elderly. Introducing the Theory of Gerotranscendence as a Supplementary Frame of Reference for Care of Elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 10, 144-150.
Wadensten, B. (2005). Introducing Older People to the Theory of Gerotranscendence. Journal of Advanced Nursing, 52(4), 381–388.
Translated Thai References
Amornsirisomboon, P. (1992). Factors Related to Employment Status of Elderly in Thailand. Master’s Thesis (Population and Social Research), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Chanpueksa, P. (1994). Relationship between Personality, Social Engagement and Life Satisfaction of Thai Elderly in Bangkok. Master’s Thesis (Applied Behavioral Science Research), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Leemasawatkun, R. (2004). Comparative Study on Self-Esteem, Loneliness and Mental Health of the Elderly in Ban Chantaburi Elderly Home. Master’s Project (Developmental Psychology), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [inThai]
National Statistical Office. (2013). Key Finding of Elderly Work in Thailand. Retrieved June 1, 2014, from http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf [in Thai]
Raksasap, S., Kangwanponsiri, K. & Intharawises, N. (2010). The Project of Suitable Occupation and Earned Income Opportunities in Accordance with Older Workers: Final Report (1st ed.). Bangkok: Research and Development Institute, Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Sapinun, L. (2002). Gerotranscendence and Death Preparation Among the Elderly. Master’s Thesis (Gerontological Nursing), Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. [in Thai]
Suton, L. (2008). Application of the Elderly Wisdom to support the programs of Senior Citizens Club : A Case Study in Senior Citizens Council of Thailand (SCCT). Master’s Thesis (Social Welfare Administration and Policy), Thammasat University, Bangkok. [in Thai]
Tengtrirat, J. (1999). General Psychology. Bangkok: Thammasat University. [in Thai]
Vanintanon, N. (2002). Textbook of RB 581 Socialization and Human Development. Bangkok: Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University. [inThai]
Wangsaard, P. (1987). Factors Related to Psychological Health of Elderly in Municipal of Community Kalasin. Master’s Thesis (Population Education), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]