แนวทางการจัดการปัญหาวิถีการตลาดของกลุ่มเกษตรกรข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง

Main Article Content

สวย หลักเมือง

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัยประยุกต์โดยการศึกษาด้านวิถีการตลาดข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงร่วมกับชุมชนกลุ่มเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางในการจัดการวิถีตลาดสำหรับข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงด้วยวิธีการแจกแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดเวทีชาวบ้านโดยมีจำนวนสมาชิกกลุ่มชุมชน จำนวน 78 ท่าน จากการวิจัยปัญหาในการจำหน่ายในวิถีการตลาด พบว่า ส่วนใหญ่ภาพรวมด้านการรับซื้อ การเก็บรักษา และด้านการขาย/การตลาด มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการขนส่ง มีปัญหาอยู่ในระดับน้อย เมื่อเปรียบเทียบปัญหาในการจำหน่ายจำแนกตามพื้นที่การเพาะปลูกในแต่ละอำเภอ พบว่า อำเภอที่ได้รับผลกระทบสูงสุด ด้านการรับซื้อ ได้แก่ อำเภอป่าพะยอม ด้านการเก็บรักษา อำเภอบางแก้ว สำหรับด้านการขาย/การตลาด และการขนส่ง ได้แก่ อำเภอปากพะยูน สำหรับแนวทางการจัดการปัญหาวิถีการตลาดของกลุ่มเกษตรกรข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง พบว่า ควรมีการสนับสนุนการเพิ่มมูลค่าโดยการพัฒนาเป็นข้าวสังข์หยดอินทรีย์เมืองพัทลุง และสนับสนุนการแปรรูปเพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเก็บรักษา และเพิ่มราคาจำหน่ายให้แก่เกษตรกร รวมทั้งการรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อการต่อรองราคาในการจำหน่าย

 

           This applied research of Sangyod rice marketing channels of Muang Pathalung was aimed to to study problems and guidelines for managing marketing channel problems of Phattahlung’s Sangyod rice in which; several groups of Sangyod rice farmers were involved in the research. Data was collected through the use of distributed questionnaires, in-depth interviews, and villagers’ stage of discussion. There 78 participants attended the stage discussion were community members. Based on the results of the research, overall problems found in purchasing procedures, storage, and marketing were in average level. Problems found in transportation were in low level.  Compared with each district area, where Sangyod rice were planted, the research found that, problems that affected each district the most were in purchasing procedures (Paborn district), storage (Bangkaew district), marketing and transportation (Pakpayoon district). As guidelines for managing marketing channel problems, there should have promotions of cultivating Sangyod rice in organic farms, processing Sangyod rice, preventing contaminations during storage, and increasing prices of Sangyod rice, including forming up Sangyod rice’s farmers association for price negotiations. 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

นิกร แสงเกตุ. (2552). แนวทางการพัฒนาข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ปี 2553-2556. สงขลา: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กลุ่มแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรเขต 9.

พนิตพิมพ์ สิทธิศักดิ์, พัชรี ชุมทอง และนคเรศ รังควัต. (2557). การผลิตและการตลาดข้าวสังข์หยดของเกษตรกร ในจังหวัดพัทลุง, วารสารแก่นเกษตร, 42(ฉบับพิเศษ 1), 493-498.

มาฆะสิริ เชาวกุล และคณะ. (2554). การทบทวนตลาดข้าวของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

รวิสสาข์ สุชาโต, อิสริยา บุญญะศิริ และกุลภา กุลดิลก. (2555). โครงการการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของข้าวไทย:กรณีศึกษาข้าวหอมมะลิบรรจุถุง. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

แว่นฟ้า ริกา (2556). การผลิตและการจัดจําหน่ายข้าวสังข์หยดของเกษตรกร ในจังหวัดพัทลุง, วารสารการจัดการ,2(1), 1-6.

ศูนย์พัฒนาความรู้การซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า. (2555). กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องในวิถีการตลาดข้าว. สืบค้นเมื่อ15 มกราคม 2555, จาก http://www.aftc.or.th/itc/article.php

ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง. (2554). รายงานสรุปเกษตรกรผู้ขึ้นทะเบียนการเพาะปลูกข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ปี 2553/2554กรุงเทพฯ: กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง. (2557), มุมการจัดการความรู้ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง จังหวัดพัทลุง สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2554 จาก http://ptt.brrd.in.th/km/index.php

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. (2548). หลักการตลาดสินค้าเกษตร. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สํานักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง. (2554) สถิติพื้นที่ปลูกข้าวนาปีจังหวัดพัทลุง. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2558, จาก

http://www.moc.go.th/opscenter/pt/Area.htm

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขต 9. (2552). การศึกษาผลตอบแทนและโครงสร้างการตลาดข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ปีเพาะปลูก 2549/50. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

อภิชิต รัตนโกเมศ. (2552). การนําระบบการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้กับกลุ่มผู้ผลิตสินค้า OTOP ประเภทเครื่องนุ่งห่ม (ผ้าย้อมสีธรรมชาติ) จังหวัดอุดรธานี, วารสารวิจัย เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 1(5), 58-67

Translated Thai References

Chaowagul, M. et al. (2011). Revision of Market Structure of Thailand. Bangkok: The Thailand Research Fund. [in Thai]

Knowledge Development of the Agricultural Futures Trading Centre. (2012). The people involved in the marketing channel of rice. Retrieved January 5, 2012, from http://www.aftc.or.th/itc/article.php [in Thai]

Ministray of Agriculture and Cooperatives. 9th Regional office of Agricultural Economics. (2009).Study of Compensation and Market Structure for Sangyod Muang Phatthalung Rice, 2006/2007 Crop Year. Bangkok: Ministry of Agriculture and Cooperatives. [in Thai]

Phatthalung Agricultural Extension Office. (2011). Area of Wet-Season Rice in Phatthalung Province Statistic. Retrieved January 27, 2011, from http://www.moc.go.th/opscenter/pt/Area.htm [in Thai]

Phatthalung Rice Research Center. (2011). Report Farmers registered to grow rice Sangyod Phatthalung, 2010/2011. Bangkok: Rice Department. Ministry of Agriculture and Cooperatives. [in Thai]

Phatthalung Rice Research Center. (2014). KM Corner of Phatthalung Rice Research Center Phatthalung Provice. Retrieved February 5, 2011, from http://ptl.brrd.in.th/km/index.php [in Thai].

Ratthanakomet, A. (2009). Application of Logistics Management System and Demand Chain for OTOP Cloth Producer Groups (Natural Dying Cloth), Udonthani. Area Based Development Research Journal, 1(5), 58-67. [in Thai]

Rika, W. (2013). “The Farmers' Production and Distribution Channels of Sang Yod Rice in Phattalung Province." WMS Journal of Management, 2(1), 1-6. [in Thai]

Sangkate, N. (2009). Development to Sangyod MuangPhatthalung Rice, 2010-2013. Songkhla: Group Agriculture Economic Zone Development Plan. 9th Regional office of Agricultural Economics. [in Thai].

Sittisak, P., Chumthong, P. & Rungkawat, N. (2014). The farmers' production and marketing of Sang Yod rice in Phattalung province. Khon Kaen Agriculture Journal, 42(1), 493-498. [in Thai]

Sochato, R., Bunyasiri, I. & Kuldilok, K. (2012). A Supply chain analysis of Thai rice: the Case of Packed Jasmine Rice. Bangkok: The Thailand Research Fund. [in Thai]

Tugsinavisutti, S. (2005). Principles of agricultural marketing. (5th ed.). Bangkok: Kasetsart University.