การบริหารความเสี่ยงงานจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารความเสี่ยงงานจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารความเสี่ยงงานจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้วิจัยได้กำหนดประชากรในการวิจัย คือบุคลากรจำนวน 23 คน ในสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องมือในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ T-Test และ F-Test ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารความเสี่ยงงานจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกข้อเช่นเดียวกัน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ 1) มีสถานที่ปฏิบัติงานสะดวกและเหมาะสม และบุคลากรสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ในยามฉุกเฉินมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 2) ควรวางแผนให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ เพื่อไม่ให้งานหยุดชะงัก บุคลากรในหน่วยงานมีประสบการณ์ด้านการจัดการเทคโนโลยี และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานอยู่เสมอมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน และ 3) มีการวางแผนงานเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน มีการกำหนด KPI เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร และมีระบบการสำรองข้อมูล เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีการชี้แจงนโยบายเกี่ยวกับแผนการบริหารความเสี่ยงให้กับบุคลากรทราบอย่างสม่ำเสมอ (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารความเสี่ยงในงานจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ข้อมูลส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารความเสี่ยงไม่แตกต่างกัน
This research aims to (1) study risk management of Information Technology management of the Office of Information Technology, and (2) to compare the opinions of staff on risk management of task management of Information Technology of the Office of Information Technology. The population was 23 staff of the Office of Information Technology. The research tool was a questionnaire. The statistics used in the study were: percentage, mean, standard deviation and the statistics used in the hypothesis testing included T-Test, and F-Test. The research results showed that the opinion of staff on risk management of Information Technology tasks in the Office of Information Technology was at a high level.
Considering each item showed that the opinions of all items are similarly at a high level. The respective three items at the highest levels are as follows: (1) the work places are suitable and the staff can work interchangeably in emergencies. These two items have the equivalent mean. (2) There should be a plan for an interchangeable work of the staff to avoid work disruption in the Information Technology departments, and the advanced technologies are always used in the performance. The means of these items are the same. (3) There is a plan in the case of emergencies with the defined KPI to assess the personnel performance, and a backup system to prevent data loss. The item with the lowest mean was regular clarification of the policies on risk management plans for staff. The comparison between the opinions of staff on risk management of Information Technology tasks in the Office of Information Technology found that despite different personal information, the opinions on risk management are not different.
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2556). ICT KM. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2556, จาก http://www.ictkm.info/content/detail/14.html
กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. (2554). การจัดการความเสี่ยงและตราสารอนุพันธ์เบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 4), กรุงเทพฯ เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
ซูญาอี อาบู. (2554). ระบบสารสนเทศกับการบริหารการศึกษา, สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2556, จาก www.l3nr.org/post/361269
ณัชธิญา ปัทมทัตตานนท์. (2553). การจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดปทุมธานี, ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ธร สุนทรายุทธ. (2550). การบริหารความเสี่ยงทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์ .
ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2551). การบริหารความเสี่ยงด้าน HR. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
นพวรรณ คงเทพ. (2549). ปัญหาและความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
ประภาพรรณ รักเลี้ยง และคณะ. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(3), 59-65.
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์. (2549). การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ไอซีที-เทเลคอม.
พลพธู ปียวรรณ และสุภาพร เชิงเอี่ยม. (2552), ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System), กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
ภาวิช ทองโรชน์. (2550). สถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
มหาวิทยาลัยรังสิต. (2554). คู่มือบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในทั่วทั้งองค์กร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต.
วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. (2557). เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2556, จาก http://elearningnorthcm.ac.th/it/lesson1-1.asp#technology
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. (2557). ข้อมูลองค์กร ปีการศึกษา 2556. กรุงเทพ: สํานักทรัพยากรมนุษย์ .
สิน พันธุ์พินิจ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ. (2552). คู่มือคําอธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สําหรับส่วนราชการระดับกรม. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559). กรุงเทพฯ พริกหวานกราฟฟิค จํากัด
สุเมธ แย้มนุ่น. (2552), ปฏิรูปสังคมไทยด้วยการปฏิรูปการศึกษา, การประชุมวิชาการระดับชาติของมหาวิทยาลัยราชภัฏครั้งที่ 1. 4 เมษายน 2552 เมืองทองธานี. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
อุดม เศษโพธิ์ และคณะ. (2553). การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์. ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
Translated Thai References
Abu, S. (2011). Information System and Educational Administration. Retrieved August 20, 2013, from www.l3nr.org/post/361269 [in Thai]
Khongkasawad, T. (2008). Risk Management, HR. Bangkok: Technology Promotion Association(Thailand - Japan). [in Thai]
Khongsawadkiad, K. (2011). Preliminary risk management and derivatives. (4th ed.). Bangkok: Pearson Education Limited Indochina. [in Thai]
Khongtep, N. (2006). Problem and Requirement of using Information Technology for the staff in the institution of education, Bangkok Campus. Thesis of Master's degree, Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Ministry of Information and Communication Technology. (2013). ICT KM. Retrieved August 28, 2013,from http://ictkm.info/content/detail/14.html [in Thai]
North-Chiang Mai University. (2014). The primary of Information Technology. Retrieved August 5,2013, from http://elearning.northcm.ac.th/it/lesson 1-1.asp#technology [in Thai]
Office of the Education Council. (2010). National Education Plan Revised edition (Year 2009 - 2016).Bangkok: Prigwhangraffic. [in Thai]
Office of the Public Sector Development Commission. (2009). Guide Notes indicators improving the quality of public administration for FY 2010 For a government department level.Bangkok: Office of the Public Sector Development Commission. [in Thai]
Panpinij, S. (2010). Techniques of social science research. (2nd ed.). Bangkok: Wittayapat. Panyapiwat Institute of Management. (2014). Information of The organization academic year 2013. Bangkok: Office of Human Resources. [in Thai]
Pattamatadtanond, N. (2010). To manage the risks affecting the effectiveness of schools. Under the jurisdiction of the study in Pathum Thani. Master of Education, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. [in Thai]
Peeyawan, P. & Cheangiam, S. (2009). Management Information System. Bangkok: Wittayapat. [in Thai]
Rangsit University. (2011). Manual of Rick Management and Internal Control at the organization. Bangkok: Rangsit University. [in Thai]
Rukleang, P. et al. (2013). The Development of Risk Management Model for Private Higher Education Institutions. Journal of Education Naresuan University, 15(3), 59-65. [in Thai]
SerdPho, U. et al. (2010). Risk Management of Ramkhamhaeng University: Ramkhamhaeng University branch of Academic Services, Chalerm Phra Kiat, Phetchabun. Master of Arts in Political Science, Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Soontrayoot, T. (2007). Risk Management Education. Bangkok: Netikul Typing. [in Thai]
Teekapoot, P. & Malaiwong, K. (2006). Information Technology Management. Bangkok: ICT-Telecom.[in Thai]
Thongroach, P. (2007). With the development of higher education institutions. Bangkok: Office of the Higher Education Commission. [in Thai]
Yamnoon, S. (2009). Thailand with social reform, educational reform. The National Conference of High School 1st April4, 2009 Impact. Bangkok: Office of the Higher Education Commission.[in Thai]