ภูมิปัญญาท้องถิ่นภายใต้เงื่อนไขกระบวนการพัฒนาเกษตรชุมชนเขตลุ่มทะเลสาบสงขลา

Main Article Content

ภัทรพงษ์ เกริกสกุล
ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร
ธนาพันธ์ นัยพินิจ

บทคัดย่อ

          การศึกษากระบวนการพัฒนาเกษตรในชุมชนเขตลุ่มทะเลสาบสงขลาภายใต้แนวคิดของภูมิปัญญาท้องถิ่นมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด วิธีการผลิตของปราชญ์ชาวบ้าน สาขาเกษตรกรรมในลุ่มทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพที่เกิดขึ้นจากการสำรวจในพื้นที่ โดยจากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 23 ท่าน ใช้แนวทางการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง เป็นเครื่องมือหลักในการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มปราชญ์ชาวบ้านทำการเพาะปลูกพืช โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) พืชอาหาร 2) พืชเศรษฐกิจรายได้หลัก และ 3) พืชที่เป็นเงินออมและอนุรักษ์ธรรมชาติ วิถีการผลิตหลักของปราชญ์ชาวบ้านเป็นการใช้ฐานแนวคิดการพึ่งพาตนเองเป็นหลัก โดยทำการปลูกพืชแบบพึ่งพิงกัน นอกจากนี้การปลูกพืชของกลุ่มปราชญ์ชาวบ้านจะปลูกพืชที่ใช้เป็นอาหารหลักภายในครัวเรือนเป็นสิ่งแรก โดยอาศัยแรงงานภายในครอบครัว ทั้งนี้การปรับตัวของปราชญ์ชาวบ้านมีกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก ทั้งนี้เงื่อนไข ข้อจำกัดของการขยายฐานแนวคิดสู่วิถีปฏิบัติของคนในชุมชนประกอบด้วย 3 ปัจจัยคือ ด้านพื้นที่ ลักษณะชุมชน และวิถีเศรษฐกิจ

 

          The Process of Community Agricultural Development in the Songkhla Lake Basin Under the Local Wisdom Concept was studied with objective of investigating the perceptions and production methods of personal indigenous knowledge regarding agriculture around the Songkhla Lake Basin. A qualitative methodology was used to conduct a phenomenal study, using a survey of the Songkla Lake Basin’s boundaries and semi-structured, in-depth interviews of 23 key informants. The study found that the aims of agricultural production were for 1) food, 2) cash cropping for main income, 3) money saving and natural protection. The core concept of agricultural production was self-sufficiency crop production and practicing companion crop production.  Producing food crops for household consumption is the first priority which dictation kinds of crop to be planted using household labor. Personal indigenous knowledge included adaptation and direct learning from experience. There was three limitations for distributing knowledge throughout the community: topography, the Southern community characteristics and economics.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกริกฤทธี ไทยคูนธนภพ. (2555). ฝรั่งกับราชอาณาจักรสยาม เรื่องเล่า มุมมอง ทัศนคติ ก่อนและหลังเสียกรุง กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์สยามความรู้.

ชัชวาล ทองดีเลิศ. (2543), บันทึกลับ NGOs: กําเนิดและพัฒนาการขององค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ เชียงใหม่ คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและมูลนิธิพัฒนาการภาคเหนือ.

ธนิก เลิศชาญฤทธิ์. (2554). การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2545). รายงานการวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กรณีศึกษาบ้านท่า, กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ. (2547), แปลผลงานของ Anthony Reid. (1988), เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคการค้า ค.ศ. 1450-1680: เล่ม 2 การขยายตัวและวิกฤติการณ์, เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม.

ภัทรพงษ์ เกริกสกุล, Neal, W. M. และธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2555), วิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาหมู่บ้านน้ําบ่อจังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 33(1), 43-54.

ภัทรพงษ์ เกริกสกุล. (2553). ปัจจัยที่ทําให้เกษตรกรย้ายออกมาอาศัยอยู่ที่ทํากินนอกหมู่บ้าน. ดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มณฑนา พิพัฒน์เพ็ญ. (2547). ปฏิบัติการผนวกรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาสู่การศึกษาในระบบโรงเรียน, กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รัตนะ บัวสนธ์. (2533) บทบาทของโรงเรียนประถมศึกษากับการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารการศึกษาแห่งชาติ,

(4), 68-74.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถานสํานักงาน

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร?. กรุงเทพฯ เครือซิเมนต์ไทย.

สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (2547). เนื้อแท้เจ้าคือพะวงภูมิปัญญา ถึงต่างชื่อ ต่างภาษา กลิ่น กลีบ เสน่หา ย่อมคือกัน ในทางสายวัฒนธรรม. กรุงเทพ: สุขภาพใจ.

โสภิณ ทองปาน. (2532), รายงานการวิจัยเรื่องอนาคตการพัฒนาด้านการเกษตร, กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.

อานันท์ กาญจนพันธ์. (2538), วัฒนธรรมกับการพัฒนา กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิปัญญาภาคกลาง. (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

Greene, W. L. S. (1999). (Foreword) writer by Zimmerman, C. C. in Siam rural economic survey 1930-1931.

Thailand: White Lotus Co. Ltd. Heywood, S. J., Siebert, W. S. & Wei, X. (2005). The implicit costs and benefit of family friendly work practices. Germany. Discussion paper No. 1581. Forschungsintitut zu Zukunft de

Arbeit Institute for the study of labor.

Neufeldt, V. & Guralnik, D. (1998). (eds.). Third College Edition: Webster's New World Dictionary of American English. New York: Macmillan.

Nonaka, I., Toyama, R. & Konno, N. (2001). Part I Knowledge, creation and leadership: 1 SECI, Ba and Leadership: a Unified model of dynamic knowledge creation. Long Range Planning,33(1), 5-34.

Nonaka, I. & Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-Creating Company. New York: Oxford University Press.

Nonaka, I. & Teece, D. (2001). Managing industrial knowledge: creation, transfer and utilization. London: SAGE Publications Ltd.

Sakolnakorn, T. P. N., Naipinit, A., Chaiphar, W. & Kroeksakul, P. (2014). Sufficiency Economy for Social and Environmental Sustainability: A Case Study of Four Villages in Rural Thailand. Asian Social Science, 10(2), 102-111.

Tveitdal, S. (2003). Urban-Rural Interrelationship: Condition for Sustainable Development. 2nd FIG Regional Conference Marrakech, Morocco on December 2-5, 2003. Retrieved April, 7, 2013, from https://www.fig.net/pub/morocco/proceedings/PS2/PS2_1 _tveitdal.pdf

Translated Thai References

Bourson, R. (2010). The function of primary school to local knowledge transfer. National Eduction Journal, 24(4). 68-74. [in Thai]

Kanchanaphan, A. (1995). Culture and Development. Bangkok: Pimluck. [in Thai]

Kroeksakul, P. (2010). Factors causing villagers moving to live on their own farmland for agriculture activities. Thesis Degree of Doctor of Philosophy in Systems agriculture, Khon Kaen University. [in Thai]

Kroeksakul, P., Neal, W. M. & Promsaka Na Sakolnakorn, T. (2012). Sufficiency economic livelihood: Case study in Nambor village, Nakhonsrithammarat, Thailand. Kasetsart Journal (Social Science), 33(1), 43-54. [in Thai]

Lekawathana, P. (2004). Translate from Anthony Reid (1988), Southeast Asia in the Commercial era 1450-1680, Vol. 2 the increasing and crisis. Chiangmai: Silkworm. [in Thai]

Lerdchanrit, T. (2011). Cultural Resource Management. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindthorn Anthropology Center. [in Thai]

Na Talang, A. (2011). Local wisdom in Central Region. (2nd ed.), Bangkok: Amarin Printing and Publishing. [in Thai]

Office of the National Economic and Social Development Board. (1999). What is sufficiency economic?. Bangkok: Siam Cement Group. [in Thai]

Phonpibun, S. (2004). Inside you are kinship of indigenous but different name, language, smell, petal, and chimes are similarly in cultural line. Bangkok: Mental Health. [in Thai]

Phompakping, B. (2002). Economic of Isaan community, Five decade after Second wars, a Case in Ban Ta. Bangkok: Thailand Research Fund. [in Thai]

Pipatpen, M. (2004). The workshop of Integrated local wisdom to education in school. Bangkok: Srinakharinwirot University. [in Thai]

Thai Royal Dictionary. (1999). The Thai Royal Dictionary in 1999. Bangkok: Thai Royal. [in Thai]

Thaikuntanaphob, K. (2012). Foreigner in Siam Kingdom, Fork taller, vision, perception, before and after disrupt a territory. Bangkok: Siam Knowledge Press. [in Thai]

Tongdeelerd, C. (2000). Secret of NGOs. Origin and Development of Non Government Organization in Northern, Thailand. Chaingmai: The committee connection Non Government Organization Northern Thailand, The Institute of Sustainable Agriculture Leaning Extension and Northern Development Fund. [in Thai]

Tongpan. S. (1989). The future of Agriculture Development. Bangkok: Ministry of University Affairs. [in Thai]