การศึกษาโอกาสและอุปสรรคผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไทยในประเทศเมียนมาร์

Main Article Content

ภัทรนิษฐ์ ศรีบุรีรักษ์
ศิระ นาคะศิริ
พวงเพ็ชร์ นิธยานนท์

บทคัดย่อ

         การตลาดเครื่องดื่มสำเร็จรูปในประเทศเมียนมาร์ ในปี 2557 เมียนมาร์เป็นตลาดการส่งออกอันดับ 4 ของประเทศไทย เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน มีมูลค่า 32,403.97 ล้านบาท และมีแนวโน้มอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.56 สำหรับพฤติกรรมการซื้อสินค้ากลุ่มเครื่องดื่มสำเร็จรูป จากผู้ตอบแบบสอบถาม 300 คน พบว่าส่วนใหญ่มีพฤติกรรมความถี่ในการบริโภคเครื่องดื่มสำเร็จรูป 1-3 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยสินค้าเหล่านี้จะซื้อจากร้านสะดวกซื้อ ซูเปอร์มาร์ท และมินิมาร์ท โดยสินค้าที่นำเข้าจากประเทศไทยโดยเฉพาะน้ำผลไม้พร้อมดื่มที่มียอดจำหน่ายสูงสุด ได้แก่ น้ำส้ม เมื่อวิเคราะห์โอกาสทางการจำหน่าย พบว่าสินค้าไทยเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับว่าเป็นสินค้ามีคุณภาพเป็นที่นิยม มีต้นทุนการขนส่งต่ำกว่าประเทศอื่นๆ และสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของเมียนมาร์คล้ายไทย ทำให้เข้ากับสภาพความเป็นอยู่ของชาวเมียนมาร์ได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นกลุ่มคนชั้นกลาง นักธุรกิจตามเมืองเศรษฐกิจใหญ่ๆ และนักท่องเที่ยวมีการขยายจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้ประกอบการไทยมีโอกาสการลงทุนเพิ่ม แต่อุปสรรคยังพบอยู่บ้าง เช่น ถนนมีสภาพชำรุด ประปา ไฟฟ้า ยังขาดแคลนที่ดินมีราคาสูงมากและนักลงทุนต่างชาติต้องอาศัยคนท้องถิ่นในการลงทุนทำธุรกิจ  

 

         Ready to drink beverage market in Myanmar in 2014, Myanmar is the fourth largest market of Thailand in ASEAN with the volume of 32,403.97 million baht and it’s expected to grow up to 23.56% in the following year. For consumer behavior in this market, derived from the survey of 300 people, most people consume and purchase ready to drink products 1 to 3 times per week from convenience stores, supermarkets, and mini marts. The products imported from Thailand especially ready to drink fruit juices are the best seller in the market. A study of marketing opportunity found that Thai products are popular and perceived as high quality among consumers. Besides, the relatively low logistic cost compared to others, the similarity in climate and weather conditions of the two countries makes Thai products fit well with Myanmar life style.  Moreover, the number of middle class, SME, and tourists that have recently grown rapidly contributes a great incentive to Thai business owners and investors to expand their businesses and investment. However, underdeveloped basic infrastructure such as roads, water supply, electricity, as well as the skyrocketing land price and the limit of foreign investors’ right are still major obstacles. 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (มปท). การวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนโอกาสและอุปสรรค(SWOTAnalysis)รายอุตสาหกรรม. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2559, จาก http://www.dip.go.th/Portals/0/AEC/SWOT_Analysis%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%B2.pdf

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2555). เตรียมพร้อม SMEs สู่ AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารอุตสาหกรรมสาร,54(2), 5-23.ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2558). ส่องศักยภาพตลาด“CLMVI”โอกาสรุ่งอาหาร-เครื่องดื่มไทย.สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2559, จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1434115923สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2557). ส่วนที่3ผลการศึกษาที่น่าสนใจของSMEsไทยบทที่5โครงการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในประเทศอาเซียน+6ระยะที่2. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2559, จาก http://www.oic.go.th/fileweb/cabinfocenter2/Drawer039/general/dat0000/00000080.pdfศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2558). อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2559, จาก http://www.kasikornbank.com/SME/Documents/KSMEAnalysis/IndustrySolution_FoodsAndBeverages_2015.pdf

Euro Monitor International. (2014). MarketsoftheFutureinMyanmar. Retrieved June 5, 2016, from http://www.euromonitor.com/markets-of-the-future-in-myanmar/report

Translated Thai References

Department of Industrial Promotion. (2012). Preparing SMEs to AEC (ASEAN Economic Community). Department of Industrial Promotion Journal,54(2), 5-23. [in Thai]

Department of Industrial Promotion. (n.d.). The analysis of strength,weakness,opportunity and threat(SWOT Analysis)in industries. Retrieved March 25, 2016, from http://www.dip.go.th/Portals/0/AEC/SWOT_Analysis%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%B2.pdf [in Thai]

Kasikorn Research Center. (2015). FoodandBeverage.Retrieved June 18, 2016, from http://www.kasikornbank.com/SME/Documents/KSMEAnalysis/IndustrySolution_FoodsAndBeverages_2015.pdf [in Thai]

Office of Small and Medium Enterprises Promotion. (2014). Part 3,the study result of Thai SMEs,Chapter 5 the study of consumer’s behavior in an Asean+6 countries phase 2. Retrieved June 5, 2016, from http://www.oic.go.th/fileweb/cabinfocenter2/drawer039/general/data0000/00000080.pdf [in Thai]

PRACHACHAT online (2015). The potential market “CLMVI” and opportunity of Thai food and Beverage. Retrieved June 5, 2016, from http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1434115923 [in Thai]