ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน กรณีศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

Main Article Content

ชลิดา ชาญวิจิตร
ประสพชัย พสุนนท์

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงานคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 50 คน โดยให้สถานประกอบการตอบแบบสอบถามประเมินการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงานรายบุคคล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยวิธีการทดสอบระดับนัยสำคัญที่ 0.05 งานวิจัยมีการศึกษาตัวแปรอิสระ 4 ปัจจัย ได้แก่ ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะ และด้านพฤติกรรมการทำงาน พบว่า ปัจจัยด้านความรู้ ได้แก่ มีความรู้ความเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมายและสามารถปฏิบัติได้ตรงตามที่กำหนด มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาอย่างครอบคลุมและเป็นระบบ มีความใฝ่รู้หรือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีทักษะในด้านการทำความเข้าใจและแยกแยะปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างมีลำดับความสำคัญ มีทักษะการค้นหาวิธีแก้ไขปัญหาให้สำเร็จด้วยดีอย่างเป็นขั้นตอน มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ และนำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์หรือต่อยอดในการทำงานหรือนำเสนอเป็นแนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานหรือหน่วยงานได้ มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของนักศึกษา ผลการศึกษาสามารถนำผลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดแผนการพัฒนานักศึกษา และออกแบบจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้

 

          The objective of this research was to study the factors that influencethe performance  of the student, Faculty of Engineering and Technology of 50 students by questionnaires of the individual student. The statistics used analysis stepwise multiple regression method to test the significant level of 0.05. The initial findings indicate that fr factors include teamwork, knowledge, competencies and behaviors. The result show factor of knowledge are cognitive tasks assigned and can be treated exactly as prescribed, Knowledge in the fieldof comprehensive and systematic, knowledge or develop themselves, Have skills in understanding and identifying the problem or situation has priority, With the skills to findsolutions to accomplish with a good step, problem solving skills effectively and take what they have learned to adapt or extend the functionality or to offer a new concept in the development or agency. Influence n the efficiency in the performanc of students. The result, which can be applied in determining a student’s development plan. And activities designed to increase knowledge

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติพันธ์ รุจิรกุล. (2529). พฤติกรรมผู้นำทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอ. เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์.

ชูศักดิ์ เจนประโคน. (2544). การประเมินค่างานและการประเมินพนักงาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2538). การส่งเสริมประสิทธิภาพในส่วนราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

นพพงษ์ บุณจิตราดุลย์. (2529). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์.

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล. (2543). การนำ Competencies สู่ภาคปฏิบัติ. วารสารการบริหารฅน,21(4), 23-28.

พนอพันธ์ จาตุรงคกุล. (2550). การศึกษาสมรรถนะการทำงานและความพึงพอใจของพนักงานฝ่ายผลิตกรณีศึกษาบริษัทพีเค จำกัด (ชื่อสมมติ) ที่ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในนิคมอุตสาหกรรม. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2558, จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/09162/chapter2.pdf

วรจิตร หนองแก. (2540). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2535). ความลับองค์การ:พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ดีไลท์.

วัชรี ธุวธรรม และคณะ. (2526). ระบบพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน. กรุงเทพฯ: กรมการฝึกหัดครูกระทรวง ศึกษาธิการ.

สมใจ ลักษณะ. (2543). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2544). ทฤษฎีองค์กรประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อักษร สวัสดี. (2542). ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย:กรณีศึกษาในเขตบางกะปิกรุงเทพฯ. ภาคนิพนธ์ ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Baruch, B. (1968). New ways in discipline. New York: Randon House.

Beach, D. S. (1975). Personnel:The Management of People at Work (2nd ed.). New York: Macmilland Company.

Becker, G. S. (1964). Human Capital:A Theoretical and Empirical Analysis with Special Reference to Education. New York: Columbia University Press.

Bloom, B. A. (1956). Taxonomy of Education Objective Handbook I: Cognitive Domain.New York: David Mc Kay Company.

Cohn, E. & Geske, T. G. (1990). The Economics of Education (3rd ed.). New York: Pergamon Press.

Francis, D. & Young, D. (1979). Improving Work Groups. California: University Associates.

Gilmer, V. H. B. (1967). Industrial and Organizational Psychology. Hogakusha: McGraw Hill.

Mayo, E. (1933). The Human Problems of an Industrial Civilization. New York: Macmillan.

Translated Thai References

Bunchintradul, N. (1986). Principles of Management Studies. Bangkok: Printing Center. [in Thai]

Chaturonkul, P. (2007). A study of performance and satisfaction Staff cases PK Limited (alias), a manufacturer of auto parts industrial. Retrieved December 26, 2015, from http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/09162/chapter2.pdf [in Thai]

Hnongkag, W. (1997). Factors that in fluence the performance of primary health care role of village health volunteers clans. Master thesis, Khon-kaen University. [in Thai]

Jenpakhon, C. (2001). Thee valuation and assessment of staff. Bangkok: Ramkhamhaeng University.[in Thai]

Laksana, S. (2000). The improvement in operating performance. Bangkok: Faculty of Management, Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai]

Meksawan, T. (1995). Promoting efficient government. Bangkok: Office of Civil Service Commission. [in Thai]

Pornnuttawutkul, P. (2000). Competencies bringing into practice. Members of Management Journal,21(4), 23-28. [in Thai]

Rujirakul, K. (1986). The educational behavior. Bangkok: O. S. Printing House. [in Thai]

Sanyawiwad, S. (2001). The theory and performance. Bangkok: Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University. [in Thai]

Sawadee, A. (1999). Knowledge Concentration of mind awareness and conservation of the environment High

school students: a case study in Bangkapi,Bangkok. Paper Arts Major Social Development, Social Development Board. NIDA. [in Thai]

Thosuwanchinda, W. (1992). The Secret Organisation the behavior of modern organizations(2nd ed.). Bangkok: A Delight. [in Thai]

Thuwatham, W. et al. (1983). The development of a performance. Bangkok: Department of Teacher Education Ministry of Education. [in Thai]