รูปแบบการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
Keywords:
การรับรู้ของประชาชน, การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ, การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ, การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, residents’ perceptions, ecotourism, exploratory factor analysis, confirmatory factor analysisAbstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 ประการ คือ 1) เพื่อกำหนดตัวบ่งชี้และองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และ 2) เพื่อศึกษารูปแบบของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สมมติฐานของการวิจัยคือการมีความสัมพันธ์ในทางบวกระหว่าง ต้นทุนของการท่องเที่ยว การรับรู้ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว การใช้ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวชุมชนสนับสนุนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และ ทัศนคติต่อระบบนิเวศของการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดอุดรธานีและจังหวัดหนองคายผลการศึกษาพบว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนมีองค์ประกอบ 5 ชนิดและตัวบ่งชี้ 24 รายการ คือต้นทุนของการท่องเที่ยวการรับรู้ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว การใช้ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวชุมชนสนับสนุนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และ ทัศนคติต่อระบบนิเวศของการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นอกจากนั้นยังพบว่า มีความสัมพันธ์ในทางบวกระหว่างองค์ประกอบด้านต้นทุนของการท่องเที่ยว การรับรู้ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว การใช้ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยว ชุมชนสนับสนุนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และ ทัศนคติต่อระบบนิเวศของการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
The perceptual forms of people influencing ecotourism in the upper Northeastern region
The two purposes of this paper are 1) to determine indicators and components of ecotourism in the upper northeastern region and 2) to find out a model of the relationship of the components of ecotourism in the upper northeastern region. The hypothesis of this research is there is a positive relationship between costs of tourism, perceptions from tourism benefits, exploitation of resources, community supports the development of tourism and attitudes toward the ecology of the ecotourism program. This is a survey research In the northeastern region: Udon Thani and Nong Khai.
The study found there are 5 components and 24 indicators for the ecotourism in the upper northeastern region that is costs of tourism, perceptions from tourism benefits, exploitation of resources, community supports toward the development of tourism and attitudes to the ecology of the ecotourism program. Besides, it found the positive relationship between costs of tourism, perceptions from tourism benefits, exploitation of resources, community supports toward the development of tourism and attitudes to the ecology of the ecotourism program.
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
ข้อความที่ปรากฎในวารสารฉบับนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนแต่ละท่าน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และกองบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยและไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ขอให้ผู้อ่านอ้างอิงในกรณีที่ท่านคัดลอกเนื้อหาบทความในวารสารฉบับนี้