The Inculcating of Children’s Behavior in Waste Segregation

Main Article Content

Chutiwan Boonarchatong
Saisuda Pantrakool
Phuripoj Keawyong

Abstract

The article is a comparative analysis for shaping behaviors for conditioned waste sorting among youth in 12 locations in Thailand. It also seeks to provide strategies for gaining information and mindset that directly contribute to appropriate waste management, waste segregation behavior, and maintaining a clean and orderly environment. Children are therefore taught to take responsibility for themselves and their environment. Children could learn about trash segregation in a variety of methods, such through narrative, cartooning, lesson embedding, or game creation. Waste segregation should be emphasized from an early age. Children ought to be conscious of environmental issues and have a conscience.  They will therefore mature into change agents who can address waste-related issues.

Article Details

Section
บทความวิชาการ

References

กรมควบคุมมลพิษ. (2564ก, 2 มีนาคม). คู่มือแนวทางและข้อกำหนดเบื้องต้น การลดและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย. https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/05/pcdnew-2020-05-24_04-01-30_968463.pdf.

กรมควบคุมมลพิษ. (2564ข, 22 ตุลาคม). ข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศ. https://thaimsw.pcd.go.th/report1.php?year=2563.

กรมควบคุมมลพิษ. (2565ก). การศึกษาองค์ประกอบขยะมูลฝอย ปี 2564. กรมควบคุมมลพิษ.

กรมควบคุมมลพิษ. (2565ข). คู่มือการคัดแยกองค์ประกอบขยะมูลฝอย ณ สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย. กรมควบคุมมลพิษ.

กรมควบคุมมลพิษ. (2565ค). แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2565- 2570). กรมควบคุมมลพิษ.

กรมควบคุมมลพิษและองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน. (2564). โครงการการจัดทำฐานข้อมูลขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ศึกษาโดยศูนย์บริการวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรมควบคุมมลพิษ.

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, (2564, 14 พฤษภาคม). ข้อมูลสถิติ กุญแจสำคัญไขปัญหาขยะ. https://infotrash.deqp.go.th/news/78.

กรมอนามัย. (2563). แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายบุคคล ปีการศึกษา 2562 ตามหนังสือแนวทางการอบรมเลี้ยงดูส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี สาระการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก หน่วยการเรียนรู้ หนูน้อยตาวิเศษ. กรมอนามัย.

จันทรา พีระขจร. (2556). ปอแก้วนักสะสม. แฮปปี้คิดส์.

ชวลิต เหลืองอร่าม. (2562, 28 มีนาคม). ประชาสัมพันธ์กรมอนามัย การคัดแยกขยะเริ่มต้นได้ที่ตัวคุณ. สำนักงานสาธารณสุขปราจีนบุรี. https://pri.moph.go.th/index.php/news/28-healthknow ledge/environment.

ชอง-เรอเน กงแบร์. (2561). ฉันคัดแยกขยะ เพื่อนำไปรีไซเคิล. นานมีบุ๊คส์.

ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย. (2563, 3 มกราคม). "ไอวีแอล" สอนเด็กชุมชนคลองเตยคัดแยกขยะรีไซเคิล. ฐานเศรษฐกิจ. https://www.thansettakij.com/general-news/418026.

ณรงค์ศักดิ์ อุ้ยคำ. (2563). การบริหารจัดการการประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการคัดแยกขยะมูลฝอยขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสระบุรี. วารสารการเมืองการบริหารและกฎหมาย, 12(1), 355-370.

ณัชชลิดา ยุคะลัง จารุวรรณ วิโรจน์ กู้เกียรติ ทุดปอ และ นิรุวรรณ เทิร์นโบล์. (2563). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการมูลฝอยชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพในพื้นที่ที่มีการขยายชุนชนอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาชุมชนข้างเคียงมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 13(1), 532-638.

นพพล เผ่าสวัสดิ์. (2563, 1 พฤศจิกายน). การออกแบบการเรียนการสอนสำหรับบทเรียนออนไลน์. MahidolUniversity Extension. https://mux.mahidol.ac.th/.

นฤญา ยางธิสาร และ ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยครัวเรือนของผู้อยู่อาศัยในตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28(1), 155-167.

นันธิดา อนันตชัย. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำกับตนเองในการเรียนของนักศึกษาเจเนอเรชั่นซี (GEN Z) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 8(1), 1-27.

เทศบาลตำบลริมปิง. (2561, 26 เมษายน). กิจกรรมคัดแยกขยะของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลริมปิง. เทศบาลริมปิง จ.ลำพูน. http://www.rimping.go.th/news-activities-etail.php?id=509.

ปิติพงษ์ วิริยปิยะ. (2559). การศึกษาแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารธรรมทรรศน์, 6(13), 63-75.

ภัทราดา เอี่ยมบุญญฤทธิ์ และฐิติชัย รักบำรุง. (2563). การสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กไทยยุค Gen Z. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 31(3), 1-11.

ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทราพันธุ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการคัดแยกขยะของคน 4 Generations. Humanities, Social Sciences, and Arts, 2(6), 2476-2495.

มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2562, 31 กรกฎาคม). ผู้พิทักษ์ตัวน้อย หนูไม่อยากเห็นพลาสติกในท้องวาฬ-เต่าทะเล. Thai PBS. https://www.tei.or.th/th/highlight_detail.php?event_id=407.

โรงเรียนเฮ็ดดีมีสุข. (2561). นวัตกรรมสร้างสรรค์สุขภาวะ โรงเรียนเฮ็ดดีมีสุข ชุด “เรื่องของขยะ (แต่ไม่แขยง)” (โครงการเสริมสร้างและพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะภาคอีสานตอนล่าง (โรงเรียนเฮ็ดดีมีสุข) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ubu. https://www.ubu.ac.th/web/files_up/43f2018050410033433.pdf.

ลฎาภา อินทรมหา. (2564, 21 มกราคม). ปลูกฝังความยั่งยืนในใจเด็กๆ ให้ไปถึงระดับประเทศที่โรงเรียนบ้านลำต้นกล้วย. Chula Zero Waste. http://www.chulazerowaste.chula.ac.th/baanlamtonkluay/.

วิมลชญาน์ สถิตสุนทรพันธ์. (2562). รูปแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศึกษา. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 7(3), 157-173.

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. (2562, 10 มกราคม). “คัดแยกขยะ ลดภาระสิ่งแวดล้อม” ในงานตะลุยวันเด็ก! บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร. MTEC NSTDA. https://www.mtec.or.th/news-event/26649/.

สุจิตรา วาสนาดำรงดี และอรอุษา สุขสุมิตร. (2564). ยกระดับการจัดการขยะของโรงเรียนด้วยแนวคิดปลอดขยะแบบองค์รวม: กรณีศึกษาโรงเรียนรางราชพฤกษ์นุชมีอุทิศ กรุงเทพมหานคร. วารสารสิ่งแวดล้อม, 25(3), 1-8.

สำนักงานเทศบาลตำบลนาตาล่วง. (ม.ป.ป.). หน่วยการเรียนรู้ หนูน้อยตาวิเศษ (เรียนรู้การคัดแยกขยะ) ชั้นอนุบาล1. เทศบาลตำบลนาตาล่วง. https://nataluang.go.th/public/list/data/showdetail/id/4642/menu/1668.3

สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบึงสามพัน. (2561). รายงานผลการดำเนินงานโครงการรณรงค์การกำจัดขยะมูลฝอย (คัดแยกขยะในโรงเรียน). สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบึงสามพัน.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). แผนปฏิบัติการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ประจำปีงบประมาณ 2562. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

องค์การบริหารส่วนตำบลนครชัยศรี. (ม.ป.ป.). ข่าวประชาสัมพันธ์ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดกลางบางแก้ว จัดโครงการคัดแยกขยะ. องค์การบริหารส่วนตำบลนครชัยศรี. https://www.nakhonchaisi-sao.go.th/ content-8-283.html.

องค์การบริหารส่วนตำบลวังทับไทร. (2564, 22 มิถุนายน). เรียนรู้การคัดแยกขยะ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลุกหิน. องค์การบริหารส่วนตำบลวังทับไท. https://www.wangtabsaiphichit.go.th/news_detail.

อารีย์ พลภูเมือง และ เสฐียรพงษ์ ศิวินา. (2560). การพัฒนาระบบคัดแยกมูลฝอยในชุมชนแบบมีส่วนร่วมเขตเทศบาล ต.เมืองสรวง อ.เมืองสรวง จ.ร้อยเอ็ด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(Special Issue), 147-161.

Dale, E. (1969). Audiovisual Methods in Teaching (3rd ed). Dryden Press.