พฤติกรรม การใช้บริการธุรกรรมทางการเงิน บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของกลุ่มผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย ในเขตจังหวัดตาก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรม และความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงิน บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของกลุ่มผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย ในเขตพื้นที่จังหวัดตาก จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ใช้บริการธนาคารกสิกรไทย โดยมีระยะเวลา ในการใช้บริการ 1-2 ปี ใช้โอนเงินระหว่างบัญชี จำนวนเงินต่อครั้ง 1,000-5,000 บาท ชำระค่าบริการ โดยหักเงินสดจากบัญชี ช่วงเวลาไม่แน่นอน ระยะเวลาต่อครั้งน้อยกว่า 5 นาที และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.05 ปัจจัยแรกคือด้านบริการตรวจสอบข้อมูล ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา รองลงมาคือ ด้านระบบ ทำธุรกรรมได้รวดเร็ว ด้านคุณภาพข้อมูล มีการอัพเดตข้อมูลทันต่อความต้องการใช้และด้านการนำมาใช้ โดยรวมมีความพึงพอใจ ส่วนผลกระทบต่อการตัดสินใจ พบว่า เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ แตกต่างกัน รวมถึงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อปัจจัยการตัดสินใจ ด้านคุณภาพเครื่องมือ ด้านคุณภาพข้อมูล ด้านระบบ ด้านบริการ และด้านการนำมาใช้ มีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่มพฤกษ์เป็นทัศนะและข้อคิดเห็นของผู้เขียนมิใช่ทัศนะของมหาวิทยาลัยเกริกหรือกองบรรณาธิการ การนำบทความส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดไปพิมพ์เผยแพร่ต้องอ้างอิงที่มาให้ชัดเจน
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). ภาควิชาสถิติ (พิมพ์ครั้งที่3). คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2565, 20 พฤษภาคม). 5 กลยุทธ์ขับเคลื่อนกลุ่มธุรกิจธนาคารสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัท PWC ประเทศไทย. PwC Thailand. https://www.pwc.com/th/en/pwc-thailand- blogs/blog-20220520.html.
ชาริณี สัญญา และปราณี เอี่ยมลออภักดี. (2559). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลกับการใช้บริการธุรกรรมธนาคารออนไลน์ธนาคารออมสินในจังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 3(2), 1-15.
ณัฐพัชร์ ล้อประเสริฐ. (2549). คู่มือสำรวจความพึงพอใจของลูกค้า. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2563,5 กุมภาพันธ์).การตรวจสอบสถานการณ์การเงินของธปทกระทรวงการคลัง. https://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions.
นันทนี ลักษมีการค้า. (2561). ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีต่อการเข้าสู่สังคมไร้เงินสด ของประชากรเจเนอเรชัน เอ็กซ์ ขึ้นไป : กรณีศึกษาจังหวัดกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). Thammasat University Library. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2018/TU_2018_6002030705_9868_9827.pdf
นรศิลป์ชูชื่น และ รฐาคุณาสุภัคกุล.(2560).ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking).(การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
พรพรรณ อาชีวะเกษะ และมฑุปายาส ทองมาก. (2560).อุปสรรคและตัวขับการยอมรับเทคโนโลยี เอ็นเอฟซีในการชำระสินค้าผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ : กรณีศึกษาประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร, 12(1), 55-72.
วรรณพร หวลมานพ. (2559). พฤติกรรมและความพึงพอใจ ของผู้ใช้แอปพลิเคชัน เคโมบายแบงก์กิ้ง พลัสของธนาคารกสิกรไทยจำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารธรรมศาสตร์, 2(3),15-28.
วริศรา นิลนาก และ ดาวพระศุกร์ ทองกลิ่น.(2564). การใช้ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ในการตัดสินใจ เลือกใช้บริการธนาคารกรุงเทพจํากัด(มหาชน)ของผู้ใช้บริการ ในเขตพระนครศรีอยุธยา. การนำเสนอผลงานวิชาการ การประชุมเกริกวิชาการระดับชาติประจำปี 2564 วันที่ 18 ธันวาคม 2564 ณ. ศูนย์ประชุมวิชาการนานาชาติ อาคาร ดร. เกริก มหาวิทยาลัยเกริก, 751.
วิชาภรณ์ ทองแสน และ ณกมล จันทร์สม.(2564). คุณภาพของเทคโนโลยีทางการเงิน มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงิน ของ ธนาคารกสิกรไทย (ออนไลน์ แบงก์กิ้ง) การนำเสนอผลงานวิชาการ การประชุมเกริกวิชาการระดับชาติประจำปี 2564 วันที่ 18 ธันวาคม 2564 ณ. ศูนย์ประชุมวิชาการนานาชาติ อาคาร ดร. เกริก มหาวิทยาลัยเกริก, 823.
สุวิชาน มนแพวงศานนท์. (2545). วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS for Windows ครอบคลุมทุกเวอร์ชัน. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
อรรณพ ดวงมณี และต่อตระกูล อุบลวัตร. (2561). พฤติกรรมการใช้สื่อใหม่และทัศนคติที่มีต่อการเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของประชาชน ในกรุงเทพมหานคร. นิเทศสยามปริทัศน์. 17 (22), 1-13
Best, John W.1981. Research in Education (4 rd ed.). Prentice Hall, 179-187.
Groonroos, C. (1990). Relationship Approach to Marketing in Service Contexts: The Marketing and Organizational Behavior Interface. Journal of Business Research, 20(1), 3-11.
K. Muiruri, S. Richu, & G. Karanja. (2015). Role of Mobile banking in enhancing financial performance of Micro and small enterprises in Kenya: A case study of Nakuru town. International Journal of Economics, Commerce and Management, 3(10), 604-618.
Kotler. (1997) Kotler, P. & Keller, K.L. (2012). Marketing Management (14th ed.). Pearson Education.
Loudon and Bitta. (1998). Consumer Behavior: Concepts and. Applications (3rd. ed). McGraw-Hill.
Parasuraman, Zeithaml and Berry. (1985). Refinement and reassessment of the SERVQUAL scale. Journal of Retailing, 67(4), 420-450
Solomon (1996). Consumer Behavior (3 rd ed.). NePrentice-Hall.
Zuithaml, Bitner, & Gremler. (2006). Service marketing: Integrating customer focus across the firm (4 th ed). n.p.