ประชาคมความมั่นคงอาเซียน: ความเสี่ยงจากการแทรกแซงของชาติมหาอำนาจ

Main Article Content

เพ็ญประภา ภัทรานุกรม

Abstract

บทความนี้ต้องการนำ เสนอในประเด็นความเสี่ยงจากชาติมหาอำนาจ ที่อาจจะทำให้ความร่วมมือในประชาคมอาเซียนด้านความมั่นคง เกิดความหวาดระแวงใน ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันในการร่วมมือด้านความมั่นคงไม่ให้บรรลุเป้าหมายในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ก่อให้เกิดความแตกแยกในหมู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะ ปัญหาความขัดแย้งในการอ้างกรรมสิทธิ์บนหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ของประเทศจีนการนำเสนอความเสี่ยงแสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่จะนำไปสู่ความขัดแย้ง จากกรณี พิพาทที่ผ่านมาเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์บนหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ เพื่อสร้างฐานความรู้ในการศึกษาต่อไปถึงแนวทางที่จะแก้ข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นอย่างสันติวิธี สามารถก่อให้ เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน สร้างความพึงพอใจร่วมกันของชาติคู่กรณีกับชาติมหาอำนาจที่เข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงอย่างประเทศจีน และโดยอ้อมอย่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ที่พยายามใช้ปัญหาการกล่าวอ้างกรรมสิทธิ์หมู่เกาะทะเลจีนใต้เพื่อแทรกแซงระหว่างประเทศในการรักษาสิทธิประโยชน์ต่อการใช้เส้นทางการเดินเรือ ที่สำคัญในภูมิภาคนี้ รวมทั้งผลประโยชน์ในอุตสาหกรรมจากแหล่งนํ้ามันและแก๊สที่คาดว่าจะมีปริมาณมากในหมู่เกาะดังกล่าว

 

ASEAN Security Community : A Risk of Superpower Countries Intervention

The article aims to present that the risk of superpower countries intervention could affect the unity and the security of AEC. As China and other countries have claimed the authority on the archipelagos in the South China Sea. This article also aims to propose a resource base to solve disagreement by peaceful means and how to encourage the member countries to get together , including China and USA. As such superpower countries has tried to involve the dispute with hidden agenda, that is to say to keep benefits from the vessel routes, oil and gas resources which are thought to be plentiful in the area.

Article Details

Section
Article