ความท้าทายของอุดมศึกษาไทยในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558
Main Article Content
Abstract
ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลักคือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งผู้นำอาเซียนได้มีข้อตกลงกำหนดให้ประชาคมอาเซียน เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน และมีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ด้านโอกาสและอุปสรรคของการอุดมศึกษาไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนั้น โอกาสของการอุดมศึกษาไทยมีมาก เริ่มตั้งแต่การที่กฎบัตรอาเซียนได้กำหนดให้มีการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุการเป็นประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ขณะเดียวกัน ด้านความท้าทาย เพื่อให้ประเทศไทยโดยเฉพาะรัฐบาลไทยบรรลุการเป็นประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันนั้นประเทศไทยต้องเป็นผู้จัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ประเทศไทยใน “ความร่วมมือพร้อมแข่งขัน” ส่งเสริมให้เกิดแนวคิดเรื่อง “ทักษะในศตวรรษที่ 21” ทักษะการดำรงชีวิตและการทำงาน ความรู้เกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน ความร้แู ละทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสาร ความร้เู กี่ยวกับอาชีพที่สร้างรายได้ การรู้จักดำรงชีวิตอย่างพอเพียง การรู้จักใช้เทคโนโลยีในชีวิตและการทำงาน การรู้จักอยู่ร่วมกับผู้อื่นที่มีพหุภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม การรู้จักกระบวนการคิดและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต และความรู้ความเข้าใจเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย
The Challenges of Thai Higher Education toward ASEAN Community in the Year 2015
The objectives of this article are to encourage ASEAN awareness and to promote deeper regional awareness for Thai people, Thai government and executive administrators in higher education institutes in Thailand, since ASEAN Community is coming into being within December 31, 2015. At that time Thailand and other Asian countries in Association of Southeast Asian Nations become members of ASEAN Community. This means that Thailand, in another word, Thai government and higher education executives must have knowledge about “ASEAN” and “ASEAN Community” and get ready for using education as the tools to develop human resources through closer educational cooperation and life-long learning. And the important reason for strengthening in human resource development is to get ready for “Competitiveness through Strategic Co-operation”.
The three areas of ASEAN Community which will be discussed in this paper are: ASEAN Political-Security Community: APSC, ASEAN Economic Community: AEC and ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC.
In terms of opportunities and challenges, higher education in Thailand concerns both opportunities and challenges. As for opportunities, which are stated in ASEAN Charter: that “strengthening co-operation in education to achieve an ASEAN caring and sharing community” In terms of challenges, in order to strengthen cooperation on education to achieve an ASEAN caring and sharing community, Thailand must invest in people to get ready for “competitiveness through strategic co-operation”. Besides, Thailand should promote the 21st century skills and knowledge, these are –learning and innovation skills, together with ASEAN Community knowledge, ASEAN language skills, knowledge and understanding about career, sufficiency economy, and multi-culture, thinking and learning skills, including the knowledge about democracy.
Article Details
Every article published in the Romphruek Journal of the Humanities and Social Sciences is the opinion and point of view of the authors. Thery're not the viewpoint of Krirk University or the editored department. Any part or all of the articles for pablication must be clearly cited.