การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ในเขตพื้นที่สถานีตํารวจภูธรบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

Main Article Content

สุวัตถิ์ ไกรสกุล
จุฑาภรณ์ คงรักษ์กวิน

บทคัดย่อ

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของประชาชนในเขตพื้นที่สถานีตํารวจภูธรบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือประชาชนในเขตพื้นที่สถานีตํารวจภูธรบางกรวย จังหวัดนนทบุรี จํานวน 380 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ t-test


        จากผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของสถานีตํารวจภูธรบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และพบว่า เพศ และอายุของประชาชนในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมไม่แตกต่าง แต่การศึกษาและ อาชีพของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิระศักดิ์ เหล่าอินทร์,ดาบตํารวจ. (2557). การมีส่วนร่วมของผู้นําชุมชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในเขตอําเภอ
เมืองนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย.

จริน กัญจนกาญจน. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของข้าราชการตํารวจภูธร
ฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช. รายงานการวิจัย วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา ปีที่ 2559 ฉบับพิเศษ (มกราคม
2559) “ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2 วิทยาลัยนครราชสีมา.
ชยพัทธ์ วงศ์ธนวีร์. (2554). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษา สถานีตํารวจ
นครบาลคลองตัน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ชัยพร พาณิชอัตรา. (2533). ความร่วมมือของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.
วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชญวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประธาน วัฒนวาณิชย์. (2546). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. สํานักพิมพ์ ประกายพรึก.

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2526). การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดล้อม หลักทฤษฎีและมาตรการ. กรุงเทพมหานคร :
สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ทรงศักดิ์ รัศมี. (2551). การมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของประชาชนที่มาติดต่อราชการที่สถานีตํารวจ
นครบาลหัวหมาก. หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.


บุญชม ศรีสะอาด.(2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.

พิพัฒน์ ว่องเจริญพืชผล. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ศึกษากรณีประชาชน
ในเขตสถานีตํารวจภูธรพานทอง อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารงาน
ยุติธรรมและสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธวัช รูปจันทร์. (2557). การมีส่วนร่วมของผู้นาชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดตามนโยบายของสํานักงานตํารวจ
แห่งชาติ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย.

สุดสงวน สุธีสร. (2547). อาชญาวิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุทธนู ศรีไลย์. (2551). สถิติประยุกต์สําหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉรียา ชูตินันทน์. (2561). อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์วิญญูชน.

อาภากรณ์ หงส์ยิ้ม.(2559). การป้องกันและปราบปรามปัญหาอาชญากรรมในเขตความรับผิดชอบสถานีตํารวจภูธรเมืองจังหวัด
นครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย.