การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพโดยชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรี 2) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการ
จัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพโดยชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรี 3) สร้างความเข้าใจกับคนในชุมชนถึงความเป็นไปได้ในการ
จัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพโดนชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรีใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเน้นการแปลความและรวบรวม
ข้อมูล เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพ การวิเคราะห์เนื้อหาจากผู้ให้ข้อมูลหลักใน
การสัมภาษณ์เชิงลึกจํานวน 31 คน และการสนทนากลุ่มจํานวน 15 คน และ 30 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรี มีศักยภาพสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
สุขภาพชุมชนโพหักได้ เนื่องจากพื้นที่ในชุมชนมีสิ่งที่น่าสนใจที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี 2) ความเป็นไปได้ในการ
จัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพโดยชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรีนั้น สามารถนําความโดดเด่นในแต่ล่ะหมู่ สามารถวาง
แนวทางในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพได้ 6 จุด ประกอบด้วย 1. ศูนย์การเรียนวิถีชีวิตการเลี้ยงกุ้ง 2. ศูนย์
การเรียนรู้นาข้าว 3. ศูนย์การเรียนรู้ปลาสลิด 4. ชมวิธีการเลี้ยงแพะเนื้อ 5. แหล่งโบราณคดีโคกพลับ 6. ตลาดริมน้ํา 3) คนใน
ชุมชนมีการรับรู้ในเรื่องการสร้างความเข้าใจกับคนในชุมชน คนในชุมชนมีความเข้าใจและรับรู้ได้ถึงความเป็นไปได้ในการจัดการ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาพโดนชุมชนโพหัก จังหวัดราชบุรี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ถือว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
References
สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
เกศณีย์ สัตตรัตนขจร . (2550). การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร : กรณีศึกษา หมู่บ้านปางมะโอ
อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2543). อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎ
เชียงใหม่.
ณัชชา ปิยวุฒิสกุล. (2556). การประเมินศักยภาพของที่อยู่อาศัยเพื่อการพัฒนาเป็นโฮมสเตย์ ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว เชิงเกษตร
กรณีศึกษา พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร หมู่ที่ 3 ตําบลคลองเขื่อน อําเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา. ภาควิชา
ภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ําและคณะ. (2543). การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติการ. โรงพิมพ์บริษัทบพิธการพิมพ์ จํากัด.
เทิดชาย ช่วยบํารุง. (2551). การท่องเที่ยวไทยนานาชาติปี พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย.
นิภาพร หนูอักษร. (2548). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางไปท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต. ปริญญานิพนธ์. วท.ม.
(การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บัณฑรู เศรษฐศิโรตม์. (2546). เกษตรกรรมยั่งยืน นโยบายเกษตรสุขภาพ. สถาบันวิจัยและสุขภาพ เอกสารประกอบการปฏิรูป
ระบบสุขภาพ สําหรับการประชุมเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ.
พจนา สวนศรี. (2546). คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.
พัทธ์ยมล สื่อสวัสดิ์วณิชย์. (2558). ต้นแบบการบริหารจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพในภาคตะวันออก
ของประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน พ.ศ. 2558.
พยอม ธรรมบุตร. (2549). เอกสารประกอบการเรียนการสอนเรื่องหลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการ
ท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ยุพาพร รูปงาม. (2545). การมีส่วนร่วมของข้าราชการสํานักงบประมาณ ในการปฏิรูประบบราชการ. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
รําไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2546). การอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ.
วารุณี เกตุสะอาด และปกรณ์ สุวานิช. (2554). การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของพื้นที่เขตทวีวัฒนา
กรุงเทพมหานคร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัย มสธ. วิจัย ประจําปี 2554 หน้า
364-379.
วีระพล ทองมา และ ประเจต อํานาจ. (2547). ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวต่อประชาชนในพื้นที่ตําบลแม่แรม
อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ศิริจรรยา ประพฤติกิจ. (2553). การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในอําเภอเมือง จังหวัดตราด เพื่อจัดทําเส้นทางท่องเที่ยว
เชิงนิเวศ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการวางแผนและการจัดการ
การท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม.
สุจิตราภรณ์ จุสปาโล. (2558). การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้ อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา.
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2558.
สินธุ์ สโรบล. (2546). การท่องเที่ยวโดยชุมชนแนวคิดและประสบการณ์พื้นที่ภาคเหนือ. โครงการประสานงานวิจัยและพัฒนา
เครือข่ายการท่องเที่ยวและชุมชน. สํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) สํานักงานภาค. พิมพ์ครั้งที่1. เชียงใหม่ :
วนิดา เพรส.
Alejandro Herrera, Catalino and Magdalena Lizardo (2004). Agriculture's environmental externalities
valuation: Agro-tourism in the Dominican Republic. Journal of Agricultural and Development
Economics. Vol. 1, No. 1, 2004, pp. 87-116.
Paresh V. Joshi and Milind B. Bhujbal. (2012). Agro-Tourism A Specialized Rural Tourism: Innovative Product
Of Rural Market. International Journal of Business and Management Tomorrow.pg 1-12.
S. H. P. Malkanthiand J. K. Routry (2011). Potential for Agro-Tourism Development: Evidence from Srilanka
revealed that there are several possibilities for the establishment of agritourism in the country.