11. ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดและการสอนแนะที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผล แบบอุปนัยทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดและการสอนแนะที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผล แบบอุปนัยทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

Main Article Content

กมลพร ทองธิยะ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลแบบอุปนัยทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษา
สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดและ
การสอนแนะกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 หมู่เรียน 01 จํานวน 28 คน ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster
Random Sampling) ใช้เวลาในการทดลอง 18 ชั่วโมง โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One - Group Design เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย ได้แก่ แผนบริหารการสอนประจําบท โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้ 5 กิจกรรม และแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผล
แบบอุปนัยทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t-test for one
sample
ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการให้เหตุผลแบบอุปนัยทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้วิธีการแบบเปิดและการสอนแนะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ74.63 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุลธิดา วรสารนันท์. (2552). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โมเดลการอุปนัยที่มีต่อมโนทัศน์และ
ความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

เจนสมุทร แสงพันธ์. (2548). รายงานการวิจัย การใช้คําถามปลายเปิดในการจัดการเรียนการสอน สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เจริญ ราคาแก้ว. (2551). เจตคติที่มีต่อคณิตศาสตร์ของนักเรียนในชั้นเรียนที่สอนด้วยวิธีการแบบเปิด. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชุติมา รอดสุข. (2550). ผลการเรียนการสอนตามแนวคอนสตรักติวิสต์ที่มีต่อมโนทัศน์ชีววิทยาและความสามารถในการให้เหตุผล
เชิงอุปนัยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษา
วิทยาศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยวัจน์ อุ้ยปาอาจ. (2552). ผลของการใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่มีต่อความสามารถ
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะ
ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีชา เนาว์เย็นผล. (2544). กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้การแก้ปัญหาปลายเปิดสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปานจิต รัตนพล. (2547). ผลการใช้ปัญหาปลายเปิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาควิชา
หลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พีชาณิกา เพชรสังข์ และรศ.ดร.อัมพร ม้าคะนอง. (2014). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียน
การสอน 5E ร่วมกับคําถามปลายเปิดที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิด
อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ OJED, Vol.9, No.3, pp.16-30.
พร้อมพรรณ อุดมสิน. (2538). การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เหมือนฝัน ชมมณี และสิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา. (2014). การวิเคราะห์กระบวนการชี้แนะของครูและผลที่เกิดกับผู้เรียน: พหุ
กรณีศึกษา OJED,Vol.9,No.2, pp.489-499. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา.

ไมตรี อินทรประสิทธิ์. (2547). การสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดในชั้นเรียนญี่ปุ่น. KKU Journal of Mathematics Education 1
(มกราคม-มิถุนายน): 1-9.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2557). การโค้ชเพื่อการรู้คิด (Cognitive coaching). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์จรัลสนิท
วงศ์การพิมพ์.

วิลัยภรณ์ สมศรี. (2558). การเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย
ระหว่างการจัดกิจกรรมประกอบอาหารกับการใช้เกมการศึกษา. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล,Vol.1,No.1, pp.32-
41.

สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12.
สํานักนายกรัฐมนตรี.

Britton, Linda R. and Kenneth A. Anderson. (2009). Peer coaching and pre-service teachers: Examination an
underutilized concept. Teaching and Teacher Education: 1-9.