18. การตลาดยุค 5.0 : การตัดสินใจทางการตลาดสําหรับการประกอบธุรกิจ การตลาดยุค 5.0 : การตัดสินใจทางการตลาดสําหรับการประกอบธุรกิจ

Main Article Content

มณิกา ทองคง

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันภาพรวมของตลาดธุรกิจเป็นตลาดที่มีการเติบโตมากซึ่งเป็นผลจากการขยายตัวของเมืองใหญ่ทั้งปริมณฑลและ
ต่างจังหวัด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาทําให้ความต้องการ
ประกอบธุรกิจในไทยเพิ่มขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายคือการตัดสินใจทางการตลาดสําหรับการประกอบธุรกิจให้สอดคล้องความ
ต้องการของผู้บริโภคในทุกรูปแบบของการบริโภคและช่วงอายุโดยใช้ทุกช่องทางในการสื่อสารเป็นสิ่งที่ต้องใช้เหตุผลการเลือก
ที่จะกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งจากทางเลือกที่มีอยู่ด้วยกันหลายทางเพื่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างที่ต้องการประกอบไปด้วยส่วนสําคัญ
3 ส่วนคือ 1) ทางเลือกในการตัดสินใจ 2) ปัจจัยประกอบการตัดสินใจ และ 3) ผลของการตัดสินใจ แม้จะมีการศึกษาข้อมูลต่างๆ
ก่อนการตัดสินใจอย่างละเอียดรอบคอบ แต่อาจจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ผู้ประกอบการไม่สามารถควบคุมได้ ดังนั้นผู้ประกอบการ
จึงต้องมีการฝึกฝนทักษะและต้องมีความเด็ดขาดที่จะตัดสินใจในเวลาเพื่อนําพาธุรกิจให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องการ
นําแนวทางการตัดสินใจการตลาดมาใช้ในการประกอบธุรกิจมาวิเคราะห์จะทําให้การประกอบธุรกิจมีผลการดําเนินงาน
ที่ประสบความสําเร็จ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เกศินี วิฑูรชาติ และคณะ. (2550). การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กลยุทธ์เพื่อการตัดสินใจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://www.google.co.th/search?rlz=1C1GGRV

การตลาด. จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki

ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ศูนย์
หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐธนะนันท์ เอี่ยมตระกูล. (2561). พัฒนาทักษะด้านการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตัดสินใจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 28
พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=496.

ทฤษฎีหมวก 6 ใบ กับการตัดสินใจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก https://th.jobsdb.com/th-th/articles/.

นภดล ร่มโพธิ์. (2554). เทคนิคในการวิเคราะห์การตัดสินใจทางธุรกิจ. วารสารบริหารธุรกิจ ปีที่ 34 ฉบับที่ 132.

รูปแบบขององค์กรธุรกิจ. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=381.

สุวกิจ ศรีปัดถา. ภาวะผู้นํากับการตัดสินใจ. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ปีที่ 1 เล่มที่ 1 (ม.ค.-
มิ.ย. 2555).

เอกพงษ์ ณรงค์ศักดิ์ และพัชรา นามวงศ์. (2559). ปัจจัยการเพิ่มผลผลิตของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ภาคการตัดเย็บเสื้อผ้า
สําเร็จรูป. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559).

Affinity Solution. (2018). Omni Channel. นิยามการตลาดในยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2561, จาก
https://www.affinity.co.th/omni-channel/?lang=th

De Bono, E. (1992). Six Thinking Hats for Schools. London: Cheltenham, Vic.: Hawker Brownlow Education.
F.Robert Dwye. Customer lifetime valuation to support marketing decision making. Journal of Direct Marketing Volume 11, Issue 4, 1997, Pages 6-13.

Ghauri, P. and Gronhaug, K. (2005). Research methods in Business Studies: practical guide, Third edition.
Prentice Hall: Pearson Education, Essex.

Kotter, P. (2012). Marketing Management. 14th ed. New Jersey: Pearson Education.

MARKETING 5.0 ลูกค้าสําคัญที่สุด. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.wynnsoft-
solution.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/Marketing-5-0-the-most-important-customers.