1. แบบผสมผสานตามแนวกลยุทธ์ทางอภิปัญญาเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

Main Article Content

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์
ศรุติพงศ์ ภูวัชร์วรานนท์
วรินทิพย์ แก่นอินทร์ สีสะหมุด
มะลิ ศรีชู
นิรมล รัตนสงเคราะห์
ศุภกาญจน์ บัวทิพย์
นิลุบล เกตุแก้ว
โซเฟีย มะลี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ตามระบบการเรียนแบบผสมผสานตามแนวกลยุทธ์ทางอภิปัญญาเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 42 คน และนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) ระบบการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวกลยุทธ์ทางอภิปัญญาเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบเผชิญหน้า 3) แบบวัดความพึงพอใจต่อระบบการเรียนรู้ และ 4) การอภิปรายกลุ่ม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่  ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ข้อมูลจากการอภิปรายกลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยสรุปได้ว่า ความพึงพอใจต่อระบบการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2549) การนำเสนอรูปแบบเสริมสร้างทักษะการคิดขั้นสูงของนิสิตนักศึกษาครูระดับปริญญาตรี สำหรับหลักสูตรครุศึกษา. รายงานผลการวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2545). ผลของวิธีสอนแบบ โครงการต่อเจตคติ ความพึงพอใจ คุณลักษณะอื่นและระดับผลการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 8 (1), 34-45.

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2547). ผลของการสอนกลยุทธ์การเรียนรู้ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติ และความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 10 (1), 83-95.

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2557). ผลของการบูรณาการการเรียนการสอนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับการเรียนการสอนปกติต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 25 (2), 66-78.

เพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์. (2536). การพัฒนารูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักศึกษาครู. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิไลพร สุตันไชยนนท์. (2547). ปฏิสัมพันธ์ของสถานการณ์ปัญหาที่นำเสนอบนเว็บและการสนับสนุนการเรียน ในการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลักที่มีต่อการคิดอย่างมี วิจารณญาณของนักศึกษาทันตแพทย์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ACT Department of Education and Training.(n.d.). Scope and Sequence. (On-line) Retrieved July 25, 2012, from http://activated.act.edu.au/ectl/design/scope_and_sequence.htm.

Alshraideh, Mohamed . (2009). The Effect of Suchmans' Inquiry Model on Developing Critical Thinking Skills among University Students. International Journal of Applied Educational Studies. 4 (1), 58-69.

Bensley, D. Alan, Crowe, Deborah S., Bernhardt, Paul , Buckner, Camille, Allman, Amanda L.. (2010). Teaching and Assessing Critical Thinking Skills for Argument Analysis in Psychology Teaching of Psychology. 37(2), 91-96.

Biggs, John B and Moore, Phillip J. (1993). Process of Learning, 3th.ed. Sydney: Prentice Hall.

Black, Max. (1952). Critical Thinking. (Second Edition) N.J.: Prentice-Hall, Inc.

Bono, Edward de. (2549) สอนเด็กให้คิดเป็น. แปลจาก Teaching Your Child How to Think. โดย อรอุมา ราชคฤค์. กรุงเทพฯ : ธรรกมลการพิมพ์.

Burbach, Mark E., Matkin, Gina S.and Fritz, Susan M.. (2004). Teaching Critical Thinking in An Introductory Leadership Course Utilizing Active Learning Strategies: A onfirmatory.

Study. College Student Journal. 38(3), 482-493.

Carrell,P.L., Pharis, B.G.,& Liberto, J.C. (1989). Metacognitive strategy training for ESL reading. TESOL Quarterly 23(4), 647– 678.

Chamot, Anna Uhl, Barnhardt, Sarah, El-Dinary, Pamela Beard, and Robbins, Jill. (1999). The Learning Strategies Handbook. New York: Longman.

Chen, Shiah-Lian, Lian, Tienli g, Lee, Mei-Li and Liao, I-Chen. (2011). Effects of Concept Map Teachin on Students' Critical Thinking and Approach to Learning and Studying. Journal of Nursing Education. 50 (8), 466-469.

Cotter, Ellen, Tally, M., and Sacco, Carrie . (2009).

Do Critical Thinking Exercises Improve Critical Thinking Skills?. Educational Research Quarterly. 33(2), 3-14.

Driscoll, M. (2002). Blended Learning: Let’s get beyond the hype. Learning and training innovation news line. (On-line) Retrieved March 2, 2012 from http://www.Itmagazine.com/Itmagazine/articleDetail.jsp?is=11755

Eberly Center for Teaching Excellence, Carnegie Mellon. (2007). Theory and Research-based Principles of Learning. (On-line) Retrieved July 25, 2012 from http://www.cmu.edu/teaching/

ERIC Digest. (n.d.). Developing Metacognition.(On-line) Retrieved October 1, 2003 from http;//www.ed.gov/databases/ERIC– Digests/ed 327218.html

Facione, Peter. (2007). Critical Thinking: What It Is and Why It Counts. (On-line) Retrieved June 30, 2008 from http://www.insightassessment.com/pdf_files/what&why2006.pdf

Fisher, Robert. (1998). Teaching Thinking: Philosophical Enquiry in the Classroom. London: Cassell.

Hacker, Douglas J. (n.d.). Metacognition: Definitions and Empirical Foundation (On-line) Retrieved October, 2003 from http;//www.psyc.memphis.edu//trg/meta.html.