การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับโรงเรียนเอกชน

Main Article Content

ปาจรีย์ นาคะประทีป
จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
สุภาภรณ์ ตั้งดำเนินสวัสดิ์

บทคัดย่อ

การบริหารทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญสำหรับกระบวนการการบริหารงานของครู บุคลากรทุกคนในโรงเรียน เพื่อช่วยผู้บริหารในการบริหารครู บุคลากรให้ปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียน เพราะโรงเรียนจะต้องมีครู บุคลากรที่มีคุณภาพ และสามารถทำงานให้กับโรงเรียนได้สำเร็จ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการบริหารงานโรงเรียนเอกชน ดังนั้น
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับโรงเรียนเอกชนมีกระบวนการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เป็นการกำหนดเชิงปริมาณและคุณภาพของบุคลากร การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับตำแหน่งที่โรงเรียนต้องการ  การบริหารค่าตอบแทนเป็นเหมือนการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน การอบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการเปลี่ยนแปลงการทำงานของบุคลากร และการสื่อสารทำให้บุคลากรภายในโรงเรียนเกิดความเข้าใจ การทำงานร่วมกันจนบรรลุวัตถุประสงค์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ขนิษฐา จิตแสง. (2563). การสื่อสารระหว่างบุคคลจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จำเนียร จวงตระกูล. (2563). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

จิระพงค์ เรืองกุน. (2562). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เนชั่นไฮย์ 1954.

คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2561). รายงานเฉพาะเรื่องที่ 10 การปรับโครงสร้างในระบบการศึกษา. กรุงเทพฯ.

เจษฎา นกน้อย. (2560). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. (2559). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษา (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562. กรุงเทพฯ.

วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิจิตรหัตถกร.

เทพรัตน์ ดาวเรือง. (2560). การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอยะหา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.

สุภาวดี ศรีมันตะ. (2560). การบริหารค่าตอบแทนที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการสายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ-ภัย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ). สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ สำหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มติกาญจน์ จิตกระโชติ และสุภาภรณ์ ตั้งดำเนินสวัสดิ์. (2562). การบริหารสถานศึกษาเอกชนแบบโครงการภาษาอังกฤษ.วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 5(1), 178-188.

มติกาญจน์ จิตกระโชติ และ สุภาภรณ์ ตั้งดําเนินสวัสดิ์. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเอกชนแบบ English Program เพื่อความเป็นเลิศ. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 5(2), 181-191.

ศรันย์ดิษฐ์ เบญจพงศ์. (2562). การวางแผนทรัพยากรมนุษย์สำหรับองค์การในอนาคต. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 2(2), 95-106.

สัญชาติ พรมดง, นันทนา นิจจอหอ และนาถรพี ชัยมงคล. (2561). การสร้างประสิทธิภาพของการสื่อสารภายในองค์กรเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 80-86.

ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย, วชิราภรณ์ สังข์ทอง และธนัทณัฏฐ์ ฉัตรภัครัตน์. (2560). การกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(3), 41-50.

ยุวรี ผลพันธิน. (2559). การประเมินผลการปฏิบัติงานของครู: เครื่องมือวัดและมิติการวัดผลการปฏิบัติงานของครูในบริบทการวิจัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 14(2), 41-50.

เอกอนงค์ ศรีสำอาง และปิยะนุช เงินคล้าย. (2559). การธำรงรักษาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 12(3), 153-170.

สวงค์ เศวตวัฒนา. (2558). การฝึกอบรมและพัฒนาในภาครัฐและภาคเอกชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 3(2), 1-11.

สุทธิพงศ์ มหาวิริโย และวลัยพร ศิริภิรมย์. (2557). สภาพและปัญหาการบริหารทรัพยากรบุคคลของโรงเรียนในจังหวัดสมุทรสาคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษษมัธยมศึกษาเขต 10. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 9(3), 1-15.

เสาวนีย์ กูณะกูง และฉัตรทิพย์ สุวรรณชิน. (2558). การสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโรงเรียนของกลุ่มเครือข่าย พัฒนาคุณภาพการศึกษาแม่แตง 1 อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 249-259.

รุจิรา แสงกรด. (2558). การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษาของรัฐในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 3(1), 142-147.

องอาจ นัยพัฒน์. (2558). การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา : กรอบแนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อการพัฒนา. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 21(1), 15-33.

มูนีเราะห์ เจ๊ะมิง. (2559). การบริหารงานบุคคลของผูบริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลามสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

Julie Beardwell and Amanda Thompson. (2017). Human Resource Management A Contemporary Approach. London: Pearson.

Beer, M., Spector B., Lawrence, P. R., Mills, D. Q., & Walton, R. E. (1984). Managing Human Assets. New York: The Free Press.

Fombrun, C J, Tichy N M and Devanna, M A. (1984). Strategic Human Resource Management. New York: Wiley.

Wayne F. Cascio. (2019). Managing Human Resources. New York: Mc Graw Hill Education.

Hendry. C. and A. Pettigrew. (1990). Human Resource Management: An agenda for the 1990s. Internation Journal of Human Resource Management, 1: 17-43.

Najla Aiman Mohamed Idrus, Azam Othman & Ahmad Faizuddin. (2017). The Practices of Human Resource Management among Headmasters in Primary School: A Case Study of Selected National and Private Schools in Malaysia. Iium Journal Of Educational Studies Kulliyyah of Education, International Islamic University Malaysia, Research Article, 5(1), pp. 26-48.