การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้เรื่องการสร้างโมเดลสามมิติ รูปแบบ วอลต์ ดิสนีย์ สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสันตพล

Main Article Content

วีรภัทร จันทรจตุรภัทร
จีรเดช เจริญชนม์
ไวพจน์ ดวงจันทร์
ธีร์วรา สุขสุเมฆ
กิตติพล เทียนทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนากระบวนการปั่นโมเด 3D โดยเรียนรู้จากคาแรคเตอร์ ของ วอล ดิสนีย์ 2) เพื่อศึกษาการออกแบบตัวละคร ที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ วอล ดิสนีย์ 3) ประเมินผลของคุณภาพกระบวกการออกแบบและพัฒนาตัวละคร สำหรับงาน โมเดล 3 มิติ  รูปแบบ วอล ดิสนีย์     4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) พัฒนาตัวละคร สำหรับงาน โมเดล 3 มิติ  รูปแบบ วอล ดิสนีย์ 2) แบบประเมินคุณภาพ โมเดล 3 มิติ  รูปแบบ วอล ดิสนีย์ โดยผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่สร้าง โมเดล 3 มิติ รูปแบบ วอล ดิสนีย์ กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปี 2 สาขาวิชา มัลติมีเดียอาร์ตและแอนิเมชัน คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยสันตพล จำนวน 16 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง


            ผลวิจัยพบว่า1) ผู้วิจัยต้องการค้นหาแนวการออกแบบตัวละครเพื่อใช้ในการสร้างผลงานในรูปแบบ โมเดล วอล ดิสนีย์ คำถามคือ องค์ประกอบใดบ้างที่ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบตัวละคร และองค์ประกอบเหล่านั้นทำงานสัมพันธ์กันอย่างไร งานวิจัยนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจวิธีคิดและการมองงานของการออกแบบตัวละคร วอล ดิสนีย์ และเรียนรู้แนวทางออกแบบตัวละครโมเดล 3 มิติ1) ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่ามีค่าเฉลี่ย = 4.13 อยู่ในเกณฑ์คุณภาพดีมาก 2) ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ามีค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย = 4.35 อยู่ในเกณฑ์ความพึงพอใจมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (a). (2562). บทวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจดิจิทัลประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก:https://www.depa.or.th/en/article-view/thailands-digital

วงศ์วรุตม์ อินตะนัย. (2561). การออกแบบตัวละครนายแรงสำหรับสื่ออินโฟกราฟิกจากตำนานหัวนายแรง. ในการประชุม วิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1. (หน้า 41-49). สงขลา: คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา