ความเข้าใจต่อการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครูและนักศึกษาครู

ผู้แต่ง

  • พินโย พรมเมือง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  • พระฌานิพิทย์ อินฺทจารี สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ว่าที่ร้อยตรี สอาด ภูนาสรณ์ สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • กษิดิศ นวเสรี สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • อรรถ เทียบปัด สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ทองคำ เกษจันทร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การสอน, ผู้เรียนเป็นสำคัญ, นักศึกษาครู

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความเข้าใจต่อการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของครูและนักศึกษาครู และ 2) เปรียบเทียบความเข้าใจต่อการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของครูและนักศึกษาครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนสูงเนิน จำนวน 30 คน และนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 30 คน รวม 60 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการเปิดตารางของเครซี่และมอร์แกน เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.981 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test

ผลการวิจัยพบว่า 1) ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจต่อการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และด้านการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะ 2) ผลการเปรียบเทียบพบว่า ครูและนักศึกษาครูมีความเข้าใจต่อการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

 

References

กชนันท์ ศรีสุข, เปรมจิตร บุญสาย, และอรสา โกศลานันทกุล. (2554). การศึกษาปัญหาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความคิดของครูอนุบาลในสถานศึกษาขึ้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระราชูปถัมภ์. 5(1), 59-70. สืบค้นจาก http://grad.vru.ac.th/pdf-journal/JourTs51/12-Kochanon.pdf

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). ไทยรั้งท้ายอาเซียน. สืบค้นจาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=34102&Key=hotnews

กิตติยานนท์ วรรณวงศ์, ประยูร แสงใส, และสาคร มหาหิงคุ์. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแบบโมเดลซิปปาของนักศึกษา สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 16(1), 179-194. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jsi/article/view/171626/136219

จรูญ พานิชย์ผลินไชย และสุพรทิพย์ ธนภัทรโชติวัต. (2559). การศึกษาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนิสิตระดับปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. สักทอง วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 22(2), 25-37, สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/view/67567/55140

ณัชชา ศรีเศรษฐา (2555). การศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ธรรมรงศักดิ์ รักงาม. (2558). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญตามหลักการเสริมพลังอำนาจ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 10(29), 87-100, สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/32546/35655

บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีรยาสาส์น.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 27(1), 145-163, สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/43033/35612

เปรมศักดิ์ จินโจ. (2554). สภาพ ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานภาครัฐในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 5(2), 91-103, สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EduAdm_buu/article/view/13321/11981

พัชราวดี ทองเนื่อง. (2553). ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญต่อความรู้และการพัฒนาผู้เรียนในรายวิชาพยาธิสรีรวิทยาสำหรับนักศึกษาพยาบาล. Princess of Nadadhiwas University Journal. 2(1), 73-89, from http://journal.pnu.ac.th/ojs/index.php/pnujr/article/view/41/471

พินโย พรมเมือง, ฐิติยา เรือนนะการ, และวิชิต ทองประเสริฐ. (2562). คุณลักษณะของครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษาระดับมหาบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์, 6(2), 11-20. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sikkha/article/download/169412/154679/

เพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์, ทิพพาพรรณ เดียวประเสริฐ, และวิสาลินี นุกันยา. (2556). สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ตามการรับรู้ของอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 12(2), 29-38.

รัฐธรรมนุญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560). ราชกิจจานุเบกษา. 134/40 ก/1-90.

ศุภชัย สว่างภพ ประวิต เอราวรรณ์ และไพบูลย์ บุญไชย. (2555). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการสอนของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 จังหวัดศรีสะเกษ. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1), 193-304, สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/article/download/150517/110275/

สุดใจ สาวทรัพย์ และศิวนิต อรรถวุฒิกุล. (2557). การศึกษาพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยเว็บบล็อกของข้าราชการสังกัดสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 7(2), 1103-1115, สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/download/18205/23512/

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

หวน พินธุพันธ์. (2555). การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: ปฏิรูปการศึกษาที่สำคัญยิ่ง. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/upload/news_research/htmlfiles/13188-7587.html

อติพร เกิดเรือง. (2560). การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 1(1), 173-184, จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JLPRU/article/view/91025

Bersin, J. (2018). New Research Shows Heavy Learners" More Confident, Successful, and Happy at Work. Retrieved from https://www.linkedin.com/pulse/want-happy-work-spend-time-learning-josh-bersin

Chuan, C. L., & Penyelidikan, J. (2006). Sample size estimation using Krejcie and Morgan and Cohen statistical power analysis: A comparison. Jurnal Penyelidikan IPBL, 7(1), 78-86, Retieved from https://www.researchgate.net/publication/255575880_SdAmvia1qwwkc2ssfu0sy7c6qhr8e4curh64j8vglc0pz0mSdAmvia1qwwkc2ssfu0sy7c6qhr8e4curh64j8vglc0pz0mYfxhZis_A_comparison

Kaput, K. (2018). Evidence for Student-Centered Learning. Retrieved from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED581111.pdf

Stephanie. (2015). Unequal Sample Sizes. Retrieved from https://www.statisticshowto.com/unequal-sample-sizes/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-18

How to Cite

Share |