การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาฝึกสอนโดยใช้การปฏิบัติการสะท้อนคิด

ผู้แต่ง

  • เศรษฐิยา เปรื่องพิชญาธร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  • พวงเพ็ญ อินทรประวัติ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

คำสำคัญ:

การปฏิบัติการสะท้อนคิด, วงจรการสะท้อนคิดของกิบส์, การจัดการเรียนรู้, นักศึกษาฝึกสอน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการปฏิบัติการสะท้อนคิดในการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาฝึกสอนเพื่อที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้องจะได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาในคณะครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์ เพราะความสามารถในการปฏิบัติการสะท้อนคิดในการจัดการเรียนรู้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่าเป็นสมรรถนะที่สำคัญยิ่งประการหนึ่งของการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู และเป็นสมรรถนะหนึ่งที่ส่งผลต่อการพัฒนาวิชาชีพครูได้อย่างคงทนยาวนาน ในบทความนี้ จะเริ่มโดยการกล่าวถึงการสะท้อนคิดในภาพรวม จากนั้นจะนำเสนอแนวทางการปฏิบัติการสะท้อนคิดตามวงจรการสะท้อนคิดของกิบส์ แนวทางการสอนกระบวนการสะท้อนคิดการจัดการเรียนรู้ การประเมินทัศนะเกี่ยวกับการสะท้อนคิดของนักศึกษาฝึกสอนหรือครูและในตอนสุดท้ายจะเป็นการให้ข้อเสนอแนะ

References

กรรณิกา วิชัยเนตร. (2557). การสะท้อนคิด: การสอนเพื่อให้นักศึกษาพยาบาลพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล. วารสารพยาบาลตำรวจ, 1(6), 188-199.

กาญจนา ศรีสวัสดิ์ และสายสมร เฉลยกิตติ. (2560). การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล. เวชสารแพทย์ทหารบก, 70(3), 169- 174.

จุฬินฑิพา นพคุณ. (2561). การสะท้อนความคิดผ่านสมุดบันทึกภาพของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 14(3), 307-322.

ธีรพล เพียรเพ็ง และประกอบ กรณีกิจ. (2557). ผลของการสะท้อนคิดด้วยวีดิทัศน์ตามแนวคิดวงจรกิบส์ในแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีต่อระดับการสะท้อนคิดของนักศึกษาครู. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา OJED An Online Journal of Education, 9(4), 151–164. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/20699

นรินทร์ สังข์รักษา และสวรรยา ธรรมอภิพล. (2563). การสะท้อนการเรียนรู้ : มุมมองการสร้างองค์ความรู้ในงานวิจัยทางการศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 2(2), 1-15.

ปวีณภัทร ตันตินิธิวัฒน์. (2557). คู่มือแนวการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การสะท้อนคิด (Reflection). ราชบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี.

ลําเจียก กําธร, จิณัฐตา ศุภศรี, และฐาปนี อัครสุวรรณกุล. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิด ของนักศึกษาพยาบาล ในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(1),15-27.

อัศนี วันชัย ,อัญชลี แก้วสระศรี, นุศรา วิจิตรแก้ว, และอารีย์ กุลจู. (2564). การพัฒนาพฤติกรรมจิตอาสาของนักศึกษาพยาบาล โดยใช้โครงงานคุณธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23(2), 362-373.

Boud D., Keogh, R, & Walker, D. (1985). What is reflection in learning? In D. Boud, R. Keogh and D. Walker (eds.). Reflection: Turning Experience into Learning, (pp 7-17). London: Kogan Page.

Brookfield, S. D. (1995). Becoming a Critically Reflective Teacher. San Francisco: Jossey-Bess.

Cole, A. L. (1997). Impediments to Reflective Practice: Toward a New Agenda for Research on Teaching. Teachers and Teaching: Theory and Practice, 3(1), 7-27.

Day, C. (1999). Developing Teachers: The Challenges of Lifelong Learning. London: Falmer.

Dewey, J. (1933). How We Think: A Restatement of the Relation of Reflective Thinking to the Educative Process (Rev. edn.). Boston, MA: D. C. Heath and Company.

Freese, A. R. (1999). The Role of Reflection op Preservice Teachers’ Development in the Context of a Professional Development Schools. Teaching and Teacher Education, 15, 895-909.

Gibbs, G. (1988). Learning by Doing: A Guide to Teaching and Learning Methods. Further Education Unit. Oxford Polytechnic: Oxford.

Johns, C. (2000). Becoming a Reflective Practitioner: A Reflective and Holistic Approach to Clinical Nursing, Practice Development and Clinical Supervision. Blackwell Science: Oxford.

Kember, D., McKay, J., Sinclair, K. & Wong, F. K. Y. (2008). A Four-Category Scheme for Coding and Assessing the Level of Reflection in Written Work. Assessment & Evaluation in Higher Education, 33(4), 369-379.

Kember, D., Jones, A., Loke, A., McKay, J., Sinclair, K., Tse, H., et al. (1999). Determining the Level of Reflective Thinking from Students’ Written Journals using a Coding Scheme Based on the Work of Mezirow. International Journal Lifelong Education, 18(1), 18-30.

Malthouse, R., Watts, M., & Roffey-Barentsen, J. (2015). Reflective questions, Self-questioning and Managing Professionally Situated Practice. Research in Education, 94, 71-87.

Manen, M. (1997). Researching the Lived Experience: Human Science for an Action Sensitive Pedagogy (2nd ed). New York: Routledge.

Mezirow, J. (1991). Transformative dimensions of adult of Learning. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Moon, J. (1999). Reflection in Learning and Professional Development. London: Kogan Page.

Moon, J. (2004). A Handbook of Reflective and Experiential Learning Theory and Practice. London, Routledge.

Moon, J. (2006) Learning Journals: A Handbook for Reflective Practice and Professional Development (2nd eds.), London, Routledge.

Pinsky, L. E., Monson, D., & Irby, D. M. (1998). How Excellent Teachers are Made: Reflecting on Success to Improve Teaching. Advances in Health Science Education. 3(3), 207-215.

Pollard, A. (2002). Readings for Reflective Teaching. London: Continuum.

Schön, D. A. (1983). The reflective practitioner. New York: Basic Books.

Schön, D. A. (1987). Educating the Reflective Practitioner. San Francisco: Jossey-Bass.

Thompson, S. & Thompson, N. (2008). The Critically Reflective Practitioner. Basingstoke: Palgrave Macmillan.

Williams, P. L. (1998). Using Theories of Professional Knowledge to Influence Educational Change. Medical Teacher, 20(1), 28-34.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-01

How to Cite

Share |