การพัฒนาพระสงฆ์สู่ผู้นำแห่งจิตวิญญาณ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประเพณีและวัฒนธรรมในสังคมไทยมักมีความเกี่ยวข้องกับพระสงฆ์ตลอด ซึ่งการที่จะผลักดันบทบาทของพระสงฆ์ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมได้นั้น พระสงฆ์จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีทั้งภายในและภายนอก มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และต้องรู้จักนำหลักธรรมไปบูรณาการใช้ได้อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการจูงใจคนให้ปฏิบัติตามความคิดเห็น หรือที่เรียกว่า เป็นผู้ที่มีภาวะความเป็นผู้นำสูง
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงแนวทางการพัฒนาพระสงฆ์สู่ผู้นำแห่งจิตวิญญาณ ประกอบด้วย 4 แนวทาง ดังนี้ การปฏิบัติตามนโยบายของมหาเถรสมาคม การปฏิบัติตามการบังคับบัญชาของเจ้าคณะปกครอง การพัฒนาตนเองของพระสงฆ์ และการมีส่วนร่วมของศาสนิกชน
คำสำคัญ : การพัฒนา, พระสงฆ์, ผู้นำแห่งจิตวิญญาณ
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
จีรพรรณ กาญจนะจิตรา. (2528). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
ชญานิน กฤติยะโชติ. (2558). กลยุทธ์การเสริมสร้างวิถีชีวิตประชาธิปไตยของนักเรียนระดับ-
มัธยมศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.
ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.
ณรงค์ เส็งประชา. (2541). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2546). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : องค์ศิลป์การพิมพ์.
น้อย สุปิงคลัด. 2537. ภาวะความเป็นผู้นําในงานพัฒนาชุมชน. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
บทบาทหน้าที่ของผู้นำ [ออนไลน์],2559. แหล่งที่มา: http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page3.2.html
เข้าถึงเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2550]
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2542.
พระมหาประยูร ธมฺมจิตฺโต. (2530). บทบาทของพระสงฆ์ในสังคมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระวิเชียร สีหาบุตร. (2537). บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาสังคม :ศึกษากรณี พระธรรมมหาวีรานุวัตร วัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม.(วิทยานิพนธ์). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระไตรปิฎก : อํ.ติก. 20/576)
พระไตรปิฎก : อังคุลิมาลสูตร, มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์, มก. เล่ม 21 ข้อ 534 หน้า 152.)
พระไตรปิฎก เล่มที่ 29 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 21 ขุททกนิกาย มหานิทเทส).
ภิญโญ สาธร. (2526). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
วัฒนา กฤติยะโชติ. (2556). การปฏิบัติธรรมของข้าพเจ้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). ขอนแก่น : โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท.
วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม ปีที่7 ฉบับที่2 ปีการศึกษา 2554. บทบาทของพระสงฆ์ในสังคมโลกาภิวัตน์, แหล่งที่มา : www.edu.buu.ac.th/vesd/year7_2554_2/article1_2554_2.pdf.
สมพงษ์ เกษมสิน. 2544. การบริหาร. กรุงเทพมหานคร: นกการพิมพ์
สุขุมวิทย์ ใสยโสภณ. คุณสมบัติและลักษณะผู้นำ [ออนไลน์], 2550. แหล่งที่มา: http://vdo.kku.ac.th/mediacenter/ mediacenter-ploads/html/1253/Lb3.html [26 พฤศจิกายน 2550]
อภิชัย พันธเสน. (2539). พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรคตอนที่ ๓ ความหวังทางออกและ-
ทางเลือกใหม่. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิภูมิปัญญา.