ทิศทางการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่อย่างกว้างขวางในการให้บริการสาธารณะพื้นฐานแก่ประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นและเป็นองค์กรที่เปิดให้ประชาคมท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารและตรวจสอบการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนผ่านในศตวรรษที่ 21 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีความจำเป็นในการใช้ทรัพยากรรายได้ ทั้งที่ท้องถิ่นจัดเก็บเองและรายได้ที่รัฐจัดสรรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีความโปร่งใสมากที่สุด การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) จึงเป็นกลไกที่จะทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบรรลุจัดมุ่งหมายดังกล่าวโดยใช้ยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องบริหารจัดการสาธารณะที่ใช้ทรัพยากรเหล่านั้นให้คุ้มค่า ดังนั้นในการจัดบริการสาธารณะต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องมีการวางแผนการบริหารโดยจะเป็นการพิจารณาและกำหนดแนวทางปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่ปรารถนา เปรียบเสมือนเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่างปัจจุบันและอนาคตเป็นการคาดการณ์สิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น ฉะนั้นการจัดบริการสาธารณะจึงจำเป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่พิจารณากำหนดแนวทางปฏิบัติงาน การจัดบริการสาธารณะมีความเกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ต่างๆ ในอนาคตและตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
Article Details
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
อังกฤษ. รัฐสภาสาร.
โกวิทย์ พวงงาม. (2550). การปกครองท้องถิ่นไทย: เอกสารตำราหลัก ประกอบการเรียนการสอน หลักสูตร
รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น วิชาการเมือง การปกครองส่วนท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
โกวิทย์ พวงงาม. (2552). มิติใหม่การปกครองท้องถิ่น:วิสัยทัศน์กระจายอำนาจและการบริหารงานท้องถิ่น. พิมพ์ ครั้งที่5. กรุงเทพฯ:วิญญูชน.
ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น".[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.dgr.go.th/isdgr/file/ admindata/Datalocal58. (13 กันยายน 2559)
โครงการธรรมาภิบาลด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. คู่มือและหลักสูตรการฝึกอบรมกระบวนการนโยบายธรรมาภิบาลด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
จรัส สุวรรณมาลา. วิถีใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย, รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ชญานิน กฤติยะโชติ. (2560). แนวนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพพลเมือง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎ
ศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.
เทพศักด ิ์ บณยรัตนพันธ. (2536). ปจจัยที่ส่งผลตอการสร้างประสิทธิผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาสำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธพัฒนบริหารศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
สาขาการบริหารการพัฒนา. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
ธันยวัฒน์ รัตนสัค.(2546). นโยบายสาธารณะ.เชียงใหม่ :ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2547). การปกครองส่วนท้องถิ่น (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
บูฆอรี ยีหมะ. (2550). การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2557). นโยบายสาธารณะ.กรุงเทพ ฯ. บพิธการพิมพ์.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. นวัตกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย). 2548.
วุฒิสาร ตันไชย.(2547). การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น. ความก้าวหน้าหลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
2540. นนทบุรี.
วุฒิสาร ตันไชย และคณะ. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น. รายงานวิจัย, กรุงเทพฯ :
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). 2542.
สัญญา เคณาภูมิ. (2559ก). “วิวัฒนาการของการบริหารจัดการภาคเอกชน : ทฤษฎีองคการและการจัดการ” วารสารรมยสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย. ปที่ 14 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม-สิงหาคม 2559
สัญญา เคณาภูมิ. (2559ข). “การกําหนดนโยบายสาธารณะ : ทฤษฎี และกระบวนการ,” วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปที่ 7 ฉบับที่ 1 :มกราคม - มิถุนายน 2559
สุพรรณี ไชยอำพร. การศึกษาเจาะลึกโครงการพัฒนาองค์กรประชาชน กรณีจังหวัดสุรินทร์.
รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ : กรมการพัฒนาชุมชน. 2531.
หควณ ชูเพ็ญ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหารจัดการท้องถิ่น. วารสารการบริหารท้องถิ่น.
อรทัย ก๊กผล Best practices ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน. นนทบุรี: วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า. 2546.
Denhardt, Robert B. and Denhardt, Janet Vinzant. (2000). “The New Public Service : Serving Rather than Steering”Public Administration Review. Noverber/December 2000, Vol. 60, N.6 : 549-559.
Denhadrt, Janet V. and Denhardt Robert. B. 2007. The New Public Service: Serving, Not Steering, Expanded Edition. Armonk, NY: M.E. Sharpe, Inc.
Ginandjar, K., (2008). Public Administration :Concepts and Practice. Presentation. Graduate School of Asia and Pacific Studies University of Waseda. Tokyo-JAPAN.Kriz. K. & Marit, S. (2014).
Kenaphoom, Sanya. (2014A). “Research Philosophy: Quantity Quality” Journal of Political Science and Law, Rajabhat Kalasin University, 3 (2), 49-51.
Kenaphoom, Sanya. (2014B). “Establish the Research Conceptual Framework in Public Administration by the Rational Conceptual thinking”. PhetchabunRajabhat Journal, 16 (1) : January-June 2014 : 1-19.
Kenaphoom, Sanya. (2015). “The research Conceptual Framework Establishment by the Grounded Theory” VRU Research and Development Journal,10 (3) (September-December, 2015)
Kenaphoom, Sanya. (2014C). “A Creation of a Research Conceptual Framework for Public Administration by Knowledge Management Methodology” Journal of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani University, 5 (2), 13-32.
Kenaphoom, Sanya. (2014D). “The creating of Quantitative Research Conceptual Framework of Public Administration by Literature Review”. Udonthani Rajabhat University Journal of Humanities and Social Science, 3 (1) : January-June 2014.
Kenaphoom, Sanya. (2013). “The Creating of the Survey Research Conceptual Framework on Public Administration” Valaya Alongkorn Review Vol. 3 No. 2 July-December 2013 : 169-185.
Kenaphoom, Sanya. 2016. “The Governance Paradigm : Conceptual Framework of Government Administration” Journal of The Way Human Society, 4 (