แบบภาวะผู้นำทางการศึกษายุคใหม่

Main Article Content

พัฒนศักดิ์ อภัยสม
ณัฐรดา คณารักษ์
ดนุดา ณ กาฬสินธุ์
อดินันท์ แก้วนิล
ชวนคิด มะเสนะ
นิรมิต ชาวระนอง

บทคัดย่อ

ภาวะผู้นำมีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาและจัดการองค์การ เพราะจะทำให้องค์การปฏิบัติพันธกิจได้บรรลุเป้าหมาย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภาวะผู้นำทางการศึกษายุคใหม่ ซึ่งเป็นทักษะที่ผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องมีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาวการณ์ที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ความผันผวน และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบด้วย 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2) ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี 3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม และ 4) ภาวะผู้นำแบบคล่องตัว หากผู้บริหารสถานศึกษาสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้มีทักษะภาวะผู้นำเหล่านี้แล้ว จะเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนพันธกิจของสถานศึกษา และถ้าสามารถใช้แนวคิดภาวะผู้นำผนวกกับแนวคิดการบริหารการศึกษาผสมผสานกับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ก็จะนำไปสู่การบริหารสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายสอดรับกับทิศทางการเปลี่ยนแปลง

Article Details

บท
Academic Articles (บทความวิชาการ)

References

จรุงจิต สมบัติวงศ์. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi, 3(2), 17-32.

ชีวิน อ่อนละออ และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับนักบริหารการศึกษา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 10(1), 108-119.

ฐิตินันท์ นันทะศรี และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารบัณฑิตศึกษา, 17(79), 11-20.

ฐิติพร หงส์โต และ สุวรรณ นาคพนม. (2560). รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารสารสนเทศ, 16(1), 239-251.

ทินกร บัวชู. (2562). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์สาร, 285-294.

บุญมา แพ่งศรีสาร. (2561). คุณลักษณะผู้บริหารทางการศึกษาในยุคศตวรรษใหม่. วารสาร มจร นครน่านปริทรรศน์, 2(2), 131-141.

ปณตนนท์ เถียรประภากุล. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. Veridian E-Journal, 11(2), 1994-2013.

ปทุมพร เปียถนอม. (2563). ภาวะผู้นำทางการศึกษายุคการแทนที่ด้วยสิ่งใหม่กับทิศทางการศึกษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 10(3), 115-123.

วิโรจน์ สารรัตนะ และคณะ. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 261-271.

สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16(1), 353-360.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อริญญา เถลิงศรี. (2563, 10 กรกฎาคม). ทักษะสำคัญที่คนเป็นผู้นำแบบ Agile ต้อง Reskill. SEAC พื้นที่เพื่อการเรียนรู้. https://www.seasiacenter.com/th/insights/blog/blog-th/agile-leadership/

Cambridge Assessment International Education. (2017).Educational Leadership. Cambridge University Press.

CASTLE. (2009). Principal Technology Leadership Assessment. http://schooltechleadership.org/wordpress/wpcontent/uploads/2010/02/ptla_info_packet.pdf

Department of Health. (2020). A practical guide for schools to prevent the spread of COVID-19. Author.

Lathan, J. (2021). Traits of Successful School Leaders. University of San Diego.

Nahavandi, A. (2000). The Art and Science of Leadership (2nd ed). Prentice-Hall.

Pagatpatan, A. (2019). Digital Leadership of School Administrators in Relation to Teachers and Principals Performance: Inputs for Techno-Learning Development Model. DepEd Marikina.

Sabanci, A., Sahin, A. & Kasalak, G. (2013). Understanding School Leaders’ Characteristics and Estimating the Future. Open Journal of Leadership, 2(3), 56-62.

Sieber, S., Kagner, E. & Zamora, J. (2014). The 5 keys to a Digital Minset. http://www.forbes.com/sites/iese/2014/03/11/ The-5-keys-to-a-Digital –Minset/2/#47c6c5e94f5f

Sheninger, E. (2019). Digital Leadership: Changing Paradigms for Changing Times. (2nd ed). Corwin.

Youngs, H. (2020). 6 things education administrators in the digital age should have and applied. https://today.line.me/th/v2/article/o7lyRP