การศึกษาความฉลาดในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความฉลาดในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบความฉลาดในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จำแนกตามเพศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ชั้นปีที่ 1 ที่ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบวัดความฉลาดในการเผชิญอุปสรรค จำนวน 30 ข้อ โดยมีค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.82 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีระดับความฉลาดในการเผชิญอุปสรรคในระดับสูง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความสามารถในการควบคุมอุปสรรคมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ด้านความสามารถในการอดทนและทนทานต่อปัญหาและอุปสรรคและด้านความสามารถในการนําตนเองเข้าไปแก้ไขอุปสรรค ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความฉลาดในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาที่มีเพศต่างกันพบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์, ปรัศนีย์ เกศะบุตร, และ ปิยวุฒิ ศิริมงคล. (2559). ภูมิหลัง ความสามารถในการ
สร้างสรรค์และความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค ที่ส่งผลต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบ
การของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 30(93), 86-99.
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2563). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศ.
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กรมสุขภาพจิต. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กระทรวงสาธารณสุข.
ณัฐสยานันท์ เวทำ. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่า
อุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 จังหวัดพิษณุโลก. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร
วิทยาเขตแพร่, 7(1), 231-245.
ปัทมา นาแถมเงิน, ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ, และ กุลภัสสร ศิริพรรณ. (2560). การพัฒนาแบบวัดเชิงสถานการณ์
เพื่อวัดความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค (AQ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(5), 54-62.
ลดารัตน์ ศรรักษ์. (2556). ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรค์กับผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรียนวิชาสถิติธุรกิจแบบผสมผสานของนักศึกษาคณะบัญชีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสาร มฉก.
วิชาการ, 17(33), 17-34.
สมหญิง จันทรุไทย และ เกียรติศักดิ์ อิชยานันท์. (2560). ศึกษาความฉลาดทางอารมณ์และความสามารถ
ในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 8(2), 189-198.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ. (2565, 30 กรกฎาคม). สถิติข้อมูลนักศึกษา. http://www.oass.
sskru.ac.th/OASS.html.
อังคณา ศรีทิพย์ศักดิ์, สังวาร วังแจ่ม, และ สุดา เนตรสว่าง. (2565). แนวทางการบริหารระบบสารสนเทศ
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตกลุ่มดอยอินทนนท์สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ,
(3), 130-146.
อมรวรรณ เวชกามา. (2563). ความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้อำนวยการกับบรรยากาศองค์การ
ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Arora, S., Ashrafian, H., Davis, R., Athanasiou, T., Darzi, A., & Sevdalis, N. (2010). Emotional
intelligence in medicine: a systematic review through the context of the ACGME
competencies. Medical Education, 44, 749-764.
Best, J. W. (1970). Research in Education. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
De Costa. (2015). Reenvisioning language anxiety in the globalized classroom through a
social imaginary lens. Language Learning, 65(3), 504-532.
Krejcie Robert V. and DaryleW. Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research
Activities. Journal of Education and Psychological, 3, 606-610.
Mangrulkar, L., Whitman, C & Ponner, M. (2001). Life Skills Approach to Child and
Adolescent Health Human Development. Washington, DC: Education
Development Center, Inc.
Stoltz, P. G. (2000). Adversity quotient finding your hidden capacity for getting thing’s
done. New York: Harper-Collins.
Stoltz, P. G., & Erik, W. (2010). Turning everyday struggles into everyday greatness. The
Adversity Advantage. New York: Simon and Schuster.
World Health Organization. (2011). Life skill Education in schools. Geneva: World Health
Organization.