ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผูบริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการโรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดศรีสะเกษ กลุมตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตัวแทนของประชากร
ในโรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดศรีสะเกษ รุ่นที่ 1 และ 2 กำหนดให้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ได้จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลในแต่ละโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 1 คน และครู 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 368 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีคาความเชื่อมั่น เทากับ 0.975 สถิติที่ใชในการวิเคราะขอมูล ไดแก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบวา 1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดศรีสะเกษ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดศรีสะเกษ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทุกด้าน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเครือข่ายพื้นที่นวัตกรรม จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับมากกับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงสุด เท่ากับ 0.782
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
กนกวรรณ เขียวนิล & ประทีป มากมิตร. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษากับประสิทธิผลของการบริหารวิชาการของโรงเรียนในเขตบางกอกน้อย สังกัดกรุงเทพมหานคร,2564 (12),10.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. ม.ป.พ.
จรุณี เก้าเอี้ยน. (2557). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษากลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. ชานเมืองการพิมพ์. กระทรวงศึกษาธิการ.
จิรวรรณ อังศุชวาลวงศ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่ง[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
จีราภา ประพันธ์พัฒน์. (2560), การศึกษาภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี.[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เจริญพงศ์ คงทน. (2558). ประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
ถนอมวรรณ ช่างทอง. (2562).ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ในอำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). สุวีริยาสาส์น.
ปวีณา กันถิ่น. (2560). ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประชารัฐเขตพื้นที่ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัฒนศักดิ์ อภัยสม. (2565).แบบภาวะผู้นำทางการศึกษายุคใหม่.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 16(2),6-10.
พยัต วุฒิรงค์. (2555). การจัดการนวัตกรรม-จากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มยุรี สมใจ. (2551).การบริหารงานวิชาการสู่เกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของชาติกลุ่มโรงเรียนปาง สำนักงานพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วัชรพงศ์ ทัศนบรรจง. (2563). ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารทส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
วันวิสาข์ ศรีภูมิ. (2560) . ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับประสิทธิผลงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2562). โครงการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สนามปฏิบัติการเพื่อสร้างนวัตกรรมการศึกษาของประเทศ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักปฏิรูปการศึกษา. 2545.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2). โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). ประกาศ เรื่อง การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2550. สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับ การเตรียมความพร้อมศตวรรษที่ 21. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
อมรรัตน์ โพธิ์เพชร. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
อรพิน อิ่มรัตน์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Ailin and Lindgren. (2008). Conceptualizing Strategic Innovation Survival and Excellence. Journal of Knowledge Globalization, (87)107.
Chester. (1996) . An Introduction to School Administration: Selected Reading. New York : Mc Millan Company.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). Harper Collins Publisher,202-204.
Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3),607 -610.
Tierney, P., Farmer, S. M. & Graen, G. B. (1999). An examination of leadership and employee creativity: The relevance of traits and relationships. Personnel Psychology, (52), 591- 620.