การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในรายวิชาหลักการทางสารสนเทศสิ่งแวดล้อม (The study of learning achievement of student-centered learning approach: Principle of Environmental Informatics Course)

Main Article Content

จงดี โตอิ้ม (Jongdee To-im)
อุทุมพร ไวฉลาด (Utumporn Waichalad)

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีการออกแบบการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้แบบบูรณาการ การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม การเรียนรู้แบบร่วมมือ รวมทั้งมีการประเมินตามสภาพจริง และการประเมินผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอนเพื่อวัดความก้าวหน้าและช่วยพัฒนาการเรียนรู้ในกรณีรายวิชาหลักการทางสารสนเทศสิ่งแวดล้อม ขั้นตอนในการศึกษาวิจัยประกอบด้วย 1) การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2) การพัฒนาเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้ก่อนการเรียน (pre-test) แบบทดสอบความรู้หลังการเรียน (post-test) แบบประเมินตนเองในการทำงานกลุ่ม แบบประเมินการทำงานเพื่อนในกลุ่ม แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม และแบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน 3) การจัดการเรียนการสอนตามที่ได้ออกแบบไว้ 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล และ 5) การวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผลข้อมูลด้วยกระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้านผู้สอนในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.32±0.64) โดยมีผลการประเมินตัวบ่งชี้ของการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในด้านบทบาทผู้สอนและบทบาทผู้เรียนในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย = 4.32±0.64 ผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยสถิติ t-test พบว่า คะแนนเฉลี่ยของความรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (t = 7.87, df = 12) ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง (normalized gain, <g> = 0.59) และผลสัมฤทธิ์ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจในการทำงานเป็นกลุ่มในระดับสูง (ร้อยละ 53.85)


This study aimed to study the learning achievement and perception towards the student-centered learning approach in the principle of environmental Informatics course. This course was designed based on the learning behaviors which were composed of the variety of learning activities, for example, integrated learning, group process, and cooperative learning. The authentic assessment and formative assessment were also employed. Literature and related documents on the student-centered learning approach were reviewed and synthesized. Data collection tools were composed of pre-test and post-test items, a self-evaluation form, a peer assessment form, and a group work observation form. The questionnaires of perception towards the course were developed. The implementation of the developed course was employed for the students. A mixed-methods approach was used for data collection and analysis. The results revealed that students were satisfied with the learning approach in an instructor aspect at a high level (mean = 4.32±0.64). The indicator of the student-centered learning approach indicated that the role of instructor and learners are at an excellent level. Paired t-test and normalized gain were employed for students’ achievement analysis. There was a statistical significance in students’ knowledge after participation in the course (t = 7.87, df = 12, p≤0.01). Overall, students’ achievement was categorized at a moderate level (normalized gain, <g> = 0.59). The students’ perception of the learning approach and the course indicated that students favoured the activities and appreciated to work as a team (53.85%).

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Academic and Registration Division, Princess of Naradhiwas University. (2012). Guidelines for The Process of Teaching and Learning is Focused on Student-Centered Learning 2012 (คู่มือกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555)). Naradhiwas: Princess of Naradhiwas University.

Boriboon, Kamoltip., & Wuttisela, Karntarat. (2015). Learning Management by Demonstration Technique on Rate of Reaction to Develop Learning Achievement for Grade 11 Students (การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบสาธิต เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5). In The 34th National Graduate Research Conference, pp. 1996-2005. Khon Kaen: Khon Kaen University.

Chaiboonchoe, Kittipong., & To-im, Jongdee. (2011). Development of Integrated Learning Package on Mangrove Ecosystems for Lower Secondary Students in Samut Songkhram Province (การพัฒนาชุดกิจกรรมเรื่องระบบนิเวศป่าชายเลน แบบบูรณาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดสมุทรสงคราม). Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning, 2(1): 35-45.

Chua-on, Somparn. (2011). Effectiveness of Laboratory Group Investigation Model in Science Classroom (ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่มในการทดลองวิทยาศาสตร์). Journal of Veridian E-Journal Silpakorn University, 4(1): 645-651.

Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University. (2013). Annual Report 2012. Nakhon Pathom (รายงานประจำปี 2555). Nakhon Pathom: Faculty of Environment and Resource Studies.

Hake, R. R. (1998). Interactive-engagement vs Traditional Methods: A Six-Thousand Student Survey of Mechanics Test Data for Introductory Physics Courses. American Journal of Physics, 61(1): 64-74.

Jaiarree, Jerapat., & Wuttaphan, Naphat. (2016). The Achievement Study of Human Resource Management Subject by Learner Center Through Problem Based Learning: A Case of Pibulsongkram Rajabhat University (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวิจัยทางด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ โดย การเรียนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญผ่านการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Based Learning) : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม). In The Proceeding of the 16th Graduate Studies of Northern Rajaphat University Network Conference, pp. 15-29. Phetchabun: Phetchabun Rajabhat University.

Kampol, Surapon., & Wutthiphom, Sura. (2010). Investigating a Mattayom V Student’s Evolving Conceptions of Circular Motion (การสำรวจตรวจสอบความเข้าใจรวบยอด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5). Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning, 1(1): 35-45.

Kolb, D. A. (1984). Experience Learning. New York: Prentice-Hall.

Kongterm, Somjai. (2016). Instruction of Teachers in Phetchabun Rajabhat University on the Topic of Learner - Centered Teaching (การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์). In The Proceeding of the 16th Graduate Studies of Northern Rajaphat University Conference, pp. 141-153. Phetchabun: Phetchabun Rajabhat University.

Laopidet, Apichai., & Sirisamphan, Orapin. (2013). The Development of Learning Achievement and Creative Problem Solving Abilities on Social Problems in Thailand of Mattayomsuksa 6 Students by Problem-based Learning Approach (การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่อง ปัญหาทางสังคมของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน). Veridian E-Journal Silpakorn University, 6(3): 757-774.

Matthews, M. R. (1994). Science Teaching: The Role of History and Philosophy of Science. New York: Routledge.

Ministry of Education. (2002). National Education Act of B.E.2542 (1999) And amended (No. 2) B.E. 2545 (2002) (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542). [Online]. Retrieved July 15, 2014 from http://www.moe.go.th/moe/nipa/ed_law/p.r.g.edu2.pdf

Namuang, Anyarat. (2010). Educational Reform in Thailand (การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย). Princess of Naradhiwas University Journal, 2(2): 112-121.

National Economic and Social Development Board, Office of the Prime Minister. (2011). The Eleventh National Economic and Social Development Plan 2012-2016 (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559). Bangkok: Office of the Prime Minister.

Pansuwan, Kornkarn., & Khamboon, Thidarat. (2008). The Effects of Instruction of Sex Education Course Emphasizing on Student-Centered toward Achievement, Attitude and Learning Satisfaction (ผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเพศศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทัศนคติและความพึงพอใจในการเรียน). Journal of Nursing Science Naresuan University, 2(Supplement): 19-28.

Papattha, Chantana. (2012). The Study of Student-Centered Approach Efficiency in the Faculty of Mass Communication Technology, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon (RMUTP) (การศึกษาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร). In The Proceeding of The 5th Srinakharinwirot Academic Conference, pp. 791-796. Bangkok: Srinakharinwirot University.

Srijaroen, Wipada. (2011). A Study The Result of Using A Student-Centered Instructional Model for In Course of Basic Health Science (การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพเบื้องต้น). Journal of Science, 12(2): 112-121.

Surakarn, Amaraporn. (2015). The Study of Antecedents and Consequences of Psychological Capital Affecting Authentic Happiness and Learning Behavior of Nursing Students at Government University (การศึกษาปัจจัยเชิงเหตุและผลของทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อความสุขที่แท้จริง และพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล). Journal of Behavioral Science for Development, 7(1): 237-252.

Taweerat, Puangrat. (1997). Research Methodology in Behavioral Science (วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์). Bangkok: Srinakarinwirot University.

Tongchai, Apisit., Arayathanitkul, Kwan., Soankwan, Cherdchoke., Emarat, Narumon., & Chitaree, Ratchapak. (2007). A New Assessment Method by Using Pre-test and Post-test Scores (การประเมินผลการเรียนรู้แบบใหม่โดยการใช้ผลสอบก่อนเรียนและหลังเรียน). HCU Journal of Health Science, 11(21): 86-94.

Tumchaiyangkul, Ornjira. (2014). Student - Centered Teaching Technique Development to Enhance the Learning Achievement of Research Methodology Subject: Case Study: Business Administration Students, Rajamangala University of Technology PhraNakhon (การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระเบียบวิธีวิจัย : กรณีศึกษานักศึกษาคณะบริหารธุกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร). In The Proceedings of The 6th Rajamangala University of Technology National Conference and The 5th Rajamangala University of Technology International Conference, pp. 205-212. Ayutthaya: Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi.

Waramit, Wiwat. (2014). Evaluation of Student Centered Learning Strategy in Livestock Management Courses (การประเมินรูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในรายวิชาการจัดการปศุสัตว์). Rajamangala University of Technology Tawan-ok Social Science Journal, 3(1): 59-65.

Wasee, Prawet. (2014). Skills in the 21st Century and Learning Management for Skills Enhancement in the 21st Century in Educational Institutions (ทักษะในศตวรรษที่ 21 และการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะในทศวรรษที่ 21 ในสถาบันการศึกษา). Nakorn Pathom: Mahidol University.