แนวทางการปรับปรุงกฎหมายเพื่อป้องกันอันตรายจากผู้กระทำความผิดหรือผู้พ้นโทษที่มีพฤติการณ์เป็นภัยต่อสังคมระยะที่ 1
คำสำคัญ:
การป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ, ผู้กระทำความผิดอุกฉกรรจ์ที่ใช้ความรุนแรง, มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดเฉพาะราย, การคุมประพฤติหรือการเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษ, การคุมขังภายหลังพ้นโทษบทคัดย่อ
ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกายที่ใช้ความรุนแรงหรือผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับเพศที่พ้นโทษจากเรือนจำบางคนยังมีความเสี่ยงสูงที่จะไปกระทำความผิดซ้ำซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสังคม ในปัจจุบันกฎหมายไทยไม่มีมาตรการเฝ้าระวังผู้กระทำความผิดเหล่านี้ การแก้ไขปัญหาดังกล่าวอาจดำเนินการได้โดยออกกฎหมายพิเศษให้มีมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำของผู้กระทำความผิดอุกฉกรรจ์ที่ใช้ความรุนแรงเหล่านี้ โดยการกำหนดมาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดเฉพาะรายในเรือนจำ มาตรการเฝ้าระวังหรือคุมประพฤติภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษในกรณีจำเป็นอย่างยิ่ง รวมทั้งกระบวนการออกคำสั่งต่างๆ ทั้งนี้ กฎหมายดังกล่าวต้องอยู่บนพื้นฐานของการคุ้มครองความปลอดภัยของสังคม ฟื้นฟูแก้ไขผู้กระทำความผิด และคุ้มครองสิทธิของผู้กระทำความผิดอย่างเหมาะสม
References
กิตติพงษ์ กิตยารักษ์, กระบวนการยุติธรรมบนเส้นทางของการเปลี่ยนแปลง, กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2541.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 เล่ม 1, กรุงเทพฯ: กรุงสยาม พับลิชชิ่ง, 2562.
_________________, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 เล่ม 2, พิมพ์ครั้งที่ 11, กรุงเทพ : กรุงสยาม พับลิชชิ่ง, 2562.
_________________, คำอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพฯ: พลสยาม
พริ้นติ้ง.
คณพล จันทน์หอม, หลักพื้นฐานกฎหมายอาญา เล่ม 1, กรุงเทพ: วิญญูชน, 2563.
คณิต ณ นคร, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 10, กรุงเทพ : วิญญูชน, 2564.
ณรงค์ ใจหาญ, หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 13, กรุงเทพ : วิญญูชน, 2563.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป, กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2563.
ปกป้อง จันวิทย์, “การวิเคราะห์กฎหมายด้วยหลักเศรษฐศาสตร์ : แนวคิดและวรรณกรรมปริทัศน์”, ใน โครงการวิเคราะห์กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาด้วยเศรษฐศาสตร์, (Economic Analysis of Criminal Laws), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2554.
ปกป้อง ศรีสนิท, กฎหมายอาญาชั้นสูง, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2563.
___________, คำอธิบายกฎหมายอาญาระหว่างประเทศ, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: เดือนตุลา, 2564.
___________, สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, กรุงเทพ : วิญญูชน, 2563.
___________, โครงการวิจัยเรื่อง กระบวนการยุติธรรมกับสถานการณ์ทางการเมืองที่มีความรุนแรง : ปัญหาและแนวทางแก้ไข, สำนักงานกิจการยุติธรรมในฐานะเลขานุการคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.), 2555.
สุพิชฌาย์ ศิริวัฒนา สีตะสิทธิ์, แนวทางที่เหมาะสมในการลงโทษและแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดซ้ำในกระบวนการยุติธรรมไทย, ดุษฎีนิพนธ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอ้างอิง, พิมพ์ครั้งที่ 20, กรุงเทพฯ:
วิญญูชน, 2563.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์, วิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาด้วยหลักกฎหมายอาญาเยอรมัน, กรุงเทพ : เจริญรัตน์การพิมพ์, 2558.
บทความภาษาไทย
ปกป้อง ศรีสนิท, “สิทธิของผู้ต้องขัง”, วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน, สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2564, กำลังตีพิมพ์.
____________, สิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ : หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์, สิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ : หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ - The 101 World, สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2564.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล . “หลักสัดส่วนในการกำหนดโทษ”, รพี 2557, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557.
หนังสือและบทความภาษาต่างประเทศ
Bouloc Bernard, Droit pénal général, 21e édition, Paris : Dalloz, 2009.
European Court of Human Rights, Guide on Article 6 of the Convention – Right to a fair trial (criminal limb), 31.08.2019.
Favoreu Louis et al., Droit des liberté fondamantales, Paris : Dalloz, 2002.
Fish Morris J., “An Eye for an Eye: Proportionality as a Moral Principle of Punishment”, Oxford Journal of Legal Studies, Vol. 28, No. 1, 2008.
HELIE Faustin, Traité de l’instruction criminelle, 2e édition, 1866, tome I.
Human Rights Committee, General comment No.35, Article 9, CCPR/C/GC/35.
Judicial College of Victoria, Serious Offenders Act 2018, Serious Offenders Act Guide - Judicial College of Victoria_March 2019.pdf
Levitt Steven D. and Miles Thomas J., “Empirical study of criminal punishment” in A. Mitchell Polinsky and Steven Shavell, Handbook of Law and Economics, Volume 1, Elsevier, 2007.
Mulligan William Hughes, Cruel and Unusual Punishments: The Proportionality Rule, 47 Fordham L. Rev. 639 (1979). Available at: http://ir.lawnet.fordham.edu/flr/vol47/iss5/1
National Institute of Justice, Recidivism, https://nij.ojp.gov/topics/corrections/recidivism
Packer Herbert L., The Limits of The Criminal Sanction, California : Standford University Press, 1968.
Pradel Jean, Droit pénal général, 14e édition, Paris : Cujas, 2002.
Pradel Jean, Procédure Pénale, 11e édition, Paris : Cujas, 2002.
คดีต่างประเทศ
Barberà, Messegué and Jabardo v. Spain, European Court of Human Rights.
Daniel (a Pseudonym) v Secretary to Dept of Justice (2015) 45 VR 266 [23]-[26].
Nigro v Secretary to the Department of Justice (2013) 41 VR 359 [116].
NOM v DPP [2012] VSCA 198; Nigro v Secretary to the Department of Justice (2013) 41 VR 359.
Rameka v. New Zealand. Human Rights Committee, Communication 1090/2002.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ