ผลกระทบของอัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย ที่มีต่ออัตราแลกเปลี่ยน โดยใช้แบบจำลอง VARs

Main Article Content

ประภัสสร คำสวัสดิ์

บทคัดย่อ

             งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย ที่มีต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สหรัฐฯ โดยวิธี  Vector Autoregressive (VARs) model โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายเดือนตั้งแต่ปี 2554 ถึง ปี 2565 ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ  เป็นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยน หรือค่าของตัวมันเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ทั้งตัวแปรอัตราเงินเฟ้อ และอัตราดอกเบี้ย เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สาเหตุเนื่องมาจาก โดยส่วนใหญ่อัตราแลกเปลี่ยนถูกขับเคลื่อนจากปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติคุณ มงคลชาติ.ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยและอัตราเงินเฟ้อที่มีต่ออัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://dric.nrct.go.th /Search/SearchDetail/272272. 2566

ต่อพงษ์ บวรพงษ์สกุล และ ธาตรี จันทรโคลิกา. (2554). ผลกระทบของนโยบายการเงินและการคลังที่มีต่อระบบ เศรษฐกิจ มหภาค โดยใช้แบบจำลอง VARs. นนทบุรี.สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ การพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์.

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด มหาชน. คำศัพท์การลงทุน Consumer Price Index.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : https://www.krungsri.com/th/personal/mutual-fund/knowledge/glossary/c/consumer-price- index. 2566

ธนาคารแห่งประเทศไทย. “เงินเฟ้อ”.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://www.bot.or.th/App/FinancialLiteracy/ExchangeRate/01_01_contentdownload_inflation.pdf. 2566

ธนาคารแห่งประเทศไทย.EC_EI_007 ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) และดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง (REER). [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://app.bot.or.th/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=407&language=th. 2566

ธนาคารแห่งประเทศไทย.EC_EI_027 เครื่องชี้เศรษฐกิจมหภาคของไทย.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://app.bot.or.th /BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=409&language=TH. 2566

ธนิตเชฎฐ จิรตรัยรัตน์กุล. (2556). ปัจจัยเศรษฐกิจที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับค่าเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์. วารสาร M.M.M. Review มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 9 (ฉบับที่ 1):1-13

positioning.ดัชนีค่าเงินบาทของไทย...สะท้อนความสามารถในการแข่งขันที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดี.[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: https://positioningmag.com/18439. 2566

ศกุนพัฒน์ จิรวุฒิตานันท์.ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราเงินเฟ้อ มันโยงกันยังไง. [ออนไลน์]).เข้าถึงได้ จาก:https://thailandinvestmentforum.com/2018/08/15/iprs. 2566

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ ป๋วย อึ้งภากรณ์.ค่าเงินบาทผันผวน : “ตัวปรับสมดุล” หรือ “ตัวป่วน” เศรษฐกิจไทย. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://www.pier.or.th/abridged/2023/06/. 2566

สมยศ อวเกียรติ และ สิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง.(2559).อิทธิพลของปัจจัยที่สำคัญต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อ ดอลลาร์สหรัฐฯ เงินบาทต่อยูโร และเงินบาทต่อหยวน. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 5 (ฉบับที่ 2): 16-27

Mishkin, F.(1996).Symposium on the Monetary Transmission Mechanism. The Journal of Economic Perspectives. 9 (Autumn): 3-10

Twin, Alexandra. 6 Factors That Influence Exchange Rates. [Online]. https://www.investopedia .com/trading/factors-influence-exchange-rates/. 2023