แนวทางการพัฒนากฎหมายในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนใน การประกอบกิจการขนส่งทางรางในประเทศไทย

Main Article Content

เกียรติพร อำไพ

บทคัดย่อ

การลงทุนด้านระบบโครงสร้างพื้นฐานในระบบขนส่งมวลชนทางรางของรัฐด้วยวิธีการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ เมือง สังคมและชุมชนที่ยั่งยืน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเพื่อใช้ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบกิจการขนส่งทางรางและการพัฒนาบริเวณพื้นที่รอบสถานี การพัฒนาดังกล่าวส่งผลให้อสังหาริมทรัพย์มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจสูงขึ้น โดยเจ้าของมิได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานและพื้นที่รอบสถานีแต่อย่างใด จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยไม่มีมาตรการทางกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการบริหารจัดการระบบโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีและการจัดเก็บภาษีจากผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการลงทุนของรัฐดังกล่าว การศึกษาครั้งนี้เสนอแนะว่า ประการแรก ประเทศไทยควรมีกฎหมายเฉพาะในการกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ หน้าที่และความรับผิดจากการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการประกอบกิจการขนส่งทางราง ประการที่สอง ประเทศไทยควรมีกฎหมายเฉพาะที่กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งทางราง และ ประการที่สาม ประเทศไทยควรมีการตรากฎหมายภาษีลาภลอยเพื่อเรียกเก็บคืนมูลค่าเพิ่มของที่ดินจากเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำและการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและชุมชนเพื่อตอบสนองต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เกียรติพร อำไพ, คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่อง “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนในการประกอบกิจการขนส่งทางรางในประเทศไทย” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. 2565

References

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย. 2561. “นั่งรถไฟทัวร์อาเซียน.” E-News ปีที่ 8, ฉบับที่ 9. (เว็บไซต์). https://www.exim.go.th/eximinter/e-news/11332/enews_september2013_tips.html (สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565).

พรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ. 2558. “แนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในประเทศไทย,” วารสารวิศวสารลาดกระบัง, ปีที่ 32, ฉบับที่ 1, 7-12.

ไพรินท์ ชูโชติถาวร. 2565. “TOD คมนาคมสร้างเมือง เมืองสร้างสุข สุขสร้างได้.” ใน โครงการศึกษาพัฒนาเมืองกับระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง (TOD). (เว็บไซต์). สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร. 1-70. https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/PDF/2562-01/256 20214-TODDr.PairinFinal.pdf (สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2565).

ศัลยวิชญ ศรีศกุน. 2562. Transit Oriented Development (TOD). (รายงานส่วนบุคคลในโครงการพัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่. รุ่นที่ 11. พ.ศ. 2562). สํานักงาน ก.พ.ร. http://203.113.122.174/ULIB5/igp/รายงานส่วน%20บุคคล%20รุ่น%2011/35%20ศัลยวิชญ%20ศรีสกุน.pdf (สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2565).

สมศิริ เชียววัฒนกุล. 2565.“TOD แนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน.” (เว็บไซต์). https://www.eg.mahidol.ac.th/ dept/clare/th/all-news-1column/124-transit-oriented-development-tod.html (สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2565).

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร. 2565. โครงการศึกษาพัฒนาเมืองกับระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง (TOD). (เว็บไซต์). https://www.otp.go.th/post/view/3046 (สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2565).

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2565. “เกี่ยวกับ SDGs.” (เว็บไซต์). https://sdgs.nesdc.go.th/ (สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2565).

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2565. “เกี่ยวกับ SDGs.” (เว็บไซต์). https://sdgs.nesdc.go.th/ (สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2565).

อภิญญา ผาดอน และ ภาวิณี เอี่ยมตระกูล. 2022. “การวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าด้วยแนวคิด การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนระบบราง.” Journal of Architectural Planning Research and Studies (JARS). Vol. 19. No. 2. 19-34.

Calme, S. 2016. “Relationship between the European Union Railway Transport Law and the Railway Protocol.” Cape Town Convention Journal. Vol. 5. No. 1. 153-166

Davenne, F. 2017. “COTIF in the Framework of ESCAP.” https://www.unescap.org/sites/default/files/Presentation%20by%20OTIF.pdf (accessed 15 May 2022).

Department of Economic and Social Affairs. 2022. “Transforming our world: the 2030 Agenda for Sustainable Development.” United Nations. (website). https://sdgs.un.org/2030agenda (accessed 10 April 2022).

Griffith, F. 2017. “Equitable Access to Public Transport: Corridor Plans for Transit-Oriented Development in Soweto, South Africa and Boston, Massachusetts Compared." Journal of Comparative Urban Law and Policy. Vol. 1. Iss..1. 23-63.

Institute for Transportation and Development Policy (ITDP). 2021. “TOD Standard Framework.” (website). https://tod.itdp.org/tod-standard/tod-standard-framework.html (accessed 10 December 2021).

Institute for Transportation and Development Policy (ITDP). 2022. “What is TOD?.” (website). https://www.itdp.org/library/standards-and-guides/tod3-0/what-is-tod/ (accessed 15 May 2022).

Institute for Transportation and Development Policy (ITDP). 2023. “The Eight Principles of TOD.” (website). https://tod. itdp.org/what-is-tod/eight-principles-of-tod.html#:~:text=The%20Eight%20Principles%20of%20TOD%20are%20 WALK%2C %20CYCLE%2C%20CONNECT%2C,to%20evaluate%20and%20plan%20neighborhoods. (accessed 15 February 2023).

Intergovernmental Organisation for International Carriage by Rail (OTIF). 2022. “Railway Contract Law.” (website). https://otif.org/en/?page_id=180 (accessed 15 May 2022).

Murakami, T. 2015. "Transit Oriented Development and Land Value Capture in Japan.” WB/MLIT Knowledge Sharing Seminar: Sharing Good Practices on TOD. (website).https://collaboration.worldbank.org/ content/usergenerated/asi/cloud/attachments/sites/collaboration-for-development/en/groups/tod-cop/documents/jcr:content/content/primary/blog/wb_tdlc_ presentation-Rab8/MURAKAMI-MLIT-on-TOD-LVC-30-June-WB.pdf (accessed 15 May 2022).

Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). 2022. “Building a Global Compendium on Land Value Capture.” (website). https://www.oecd.org/cfe/cities/Flyer-Land-Value-Capture.pdf (accessed 12 August 2022).

Suzuki, H.; Murakami, J.; Hong, Y. and Tamayose, B. 2015. Financing Transit-Oriented Development with Land Values: Adapting Land Value Capture in Developing Countries. Urban Development. (Washington, DC: World Bank. 2015).

The Association of European Rail Infrastructure Managers (EIM). 2014. “Position Paper: Revision of COTIF – UR CUI (Appendix E) Main Aspects.” https://eimrail.org/wp-content/ uploads/2019/07/Position-Paper-OTIF-Revision-on-UR-CUI.pdf (accessed 15 May 2022).

The Library of Congress. 2022A. “A Bill to Amend Title 23. United States Code. to Modify the Transportation Finance Infrastructure and Innovation Program with Respect to Community Development Financial Institutions. and for Other Purposes.” H.R.2206-Equitable Transit Oriented Development Support Act. 117th Congress (2021-2022). (website). https://www.congress.gov/bill/117th-congress/house-bill/2206/text (accessed 12 August 2022).

The Library of Congress. 2022B “A Bill to Amend Title 49. United States Code, to Expand and Codify the Transit Oriented Development Planning Grant Program, and for Other Purposes,” H.R.1615-More TOD Act 117th Congress (2021-2022).(website). https://www.congress.gov/bill/117th-congress/house-bill/1615/text (accessed 12 August 2022).

The World Bank. 2022. “Transforming the Urban Space Through Transit-Oriented Development: The 3V Approach.” (website). https://www.worldbank.org/en/topic/transport/publication/transforming-the-urban-space-through-transit-oriented-development-the-3v-approach (accessed 15 May 2022).

Transit Oriented Development Institute. 2022. “Transit Oriented Development.” (website). http://www.tod.org/ (accessed 15 May 2022).

United Kingdom. 2022. “Explanatory Notes Railways and Transport Safety Act 2003.” (website). https://www. legislation.gov.uk/ukpga/2003/20/notes/division/4/8/data.xht?view=snippet&wrap=true (accessed 15 May 2022).

United Nations Environment Programme. 2022. “Financing Investment with Land Value Capture.” (website). https://www.neighbourhoodguidelines.org/ land-value-capture (accessed 12 August 2022).