การประเมินเบื้องต้นการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ของส้วมสาธารณะในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่
DOI:
https://doi.org/10.14456/rcmrj.2013.96133Keywords:
ส้วมสาธารณะ, การประเมินเบื้องต้น, การปนเปีอนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย, Public toilet, Primary assessment, Coliform bacteria contaminationAbstract
การวิจัยนี้เป็นการประเมินเบื้องต้นการปนเปีอนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียของส้วมสาธารณะในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 84 แห่ง เก็บตัวอย่างการปนเปีอนอุจจาระภายในห้องส้วม 13 จุด จำนวน 922 ตัวอย่าง โดยใช้แบบประเมินมาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศ (HAS) และชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-2) ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2554วิเคราะห์ข้อมลโดยใช้สถิติพรรณนาเพื่อหาค่าร้อยละ ผลการศึกษามาตรฐานส้วมสาธารณะพบว่า ผ่านเกณฑ์ HAS เพียง 4 แห่ง (ร้อยละ 4.8) คือสถานีขนส่งทางบก สถานีบริการนํ้ามันเชื้อเพลิง สถานที่ราชการและศาสนสถานในเกณฑ์ความสะอาด (Healthy : H) อันดับแรกคือ สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูลและถังเก็บกักนํ้าไม่รั่วแตกหรือชำรุด ร้อยละ 90.5 ปัญหาที่พบมากคือ ไม่จัดให้มีการทำความสะอาดและระบบการควบคุมตรวจตราเป็นประจำ ร้อยละ 48.8 เกณฑ์ความเพียงพอ (Accessibility : A) มีส้วมพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปีดให้บริการ ร้อยละ 97.6 พบว่าไม'มีส้วมนั่งราบสำหรับผู้พการ ผู้,สูงวัย หญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 86.9 เกณฑ์ความปลอดภัย (Safety : S) ส้วมสาธารณะไม่อยู่ที่ลับตา/เปลี่ยว ร้อยละ 100 ส่วนข้ออื่นๆ ผ่านเกณฑ์ไต้มากกว่าร้อยละ 78.6 ขึ้นไป ผลการศึกษาการปนเปีอนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย พบมากที่สูดในส้วมสาธารณะของสวนสาธารณะ, ตลาดสด และโรงเรียนร้อยละ 36.4, 34.6 และ 33.3 ตามลำดับ ส่วนห้องส้วมในห้องอาหารโรงแรม พบการปนเปี้อนน้อยที่สุด ร้อยละ 1.4 และพบการปนเปีอนในห้องส้วมชายมากกว่าส้วมหญิง(ร้อยละ18.9 และ 18.4)
Preliminary Assessment on Coliform Bacteria Contamination of Public Toilets in Chiangmai Municipality
This study was pre assessment on coliform bacteria contamination of public toilets in Chiang Mai Municipality. Samples sizes were 84 public toilets and 922 samplings of 13 points that’s exposed to fecal contamination during March-May 2554. Methods used national standard pattern of public toilets (HAS) and coliform bacteria test (SI-2). Data analysis by descriptive statistics and percentage. The results showed that 4 public toilets were in standard of public toilets (HAS) on 4.8%. The first of healthy (H) requirements were tanks and drainage sewages were in good conditions (90.5%). A problem was the provision of cleaning and regular monitoring system control (48.8%). The accessibility (A) requirements were found available in public toilets 97.6% while 86.9% hadn’t been provided seat flat toilet for disabled, elderly and pregnancy. The safety (S) requirements, 100% of public toilets location were in sight/desolated and the others requirements could pass evaluation more than 78.6%. The study on coliform bacteria contamination was shown the percentage of contaminated conditions of the public park toilets, markets and municipal schools were 36.4, 34.6 and 33.3% respectively. The hotel’s restaurants showed least contamination (1.4%) and also found that men toilets contamination were more than women (18.9%, 18.4%).
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
1. Articles, information, content, images, etc. that are published in "Chiang Mai Rajabhat Research Journal" is the copyright of Chiang Mai Rajabhat Research Journal. Chiang Mai Rajabhat University. If any person or organization wants to distribute all or any part of it or do any action Must have written permission from the Chiang Mai Rajabhat Research Journal, Chiang Mai Rajabhat University.
2. Content of articles appearing in the journal is the responsibility of the author of the article. The journal editor is not required to agree or take any responsibility.