การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างเสริมความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเป็นฐาน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • สามารถ ใจเตี้ย ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/rcmrj.2021.242335

คำสำคัญ:

กิจกรรมการเรียนรู้ชุมชน, การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรมการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างเสริมความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 265 คนและผู้มีส่วนได้เสีย จำนวน 16 คน  เก็บข้อมูลโดยกิจกรรมการเรียนรู้ชุมชน  แบบทดสอบ และการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของผู้มีส่วนได้เสีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามเกณฑ์ร้อยละ 80 / 80 (E1 / E2)  และสถิติทดสอบ Paired – t  test  ผลการศึกษา พบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ชุมชน ประกอบด้วย ความรู้  สารสำคัญ การใช้ประโยชน์สมุนไพรพื้นบ้าน และปัจจัยการดำรงอยู่ของสมุนไพรพื้นบ้าน  มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80 / 80 (82.66 / 88.24) ส่วนผลสัมฤทธิ์กิจกรรมการเรียนรู้ชุมชนมีค่าคะแนนทดสอบความรู้เฉลี่ยหลังทดลองใช้สูงกว่าก่อนทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ≤ 0.05   (p – value = 0.006)  ทั้งนี้ผู้สูงอายุได้เสนอแนะการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้โดยควรเพิ่มเนื้อหา เวลาการดำเนินและกิจกรรมในแต่ละช่วงให้มากขึ้น

References

Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Education Objective Handbook 1: Cognitive Domain. (17th ed.). New York: David Mac Kay Company, Inc.

Daniel, W.W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences. (9thed.). New York: John Wiley & Sons.

David, R. W. (2008).The Wisdom of Whores: Bureaucrats, Brothels and the Business of AIDS. W. W. Norton & Co., New York.

Ebel, R.L., & Frisbie, D.A. (1986). Essentials of Educational Measurement. Englewood Cliffs ,New Jersey: Prentice-Hall.

Elderly health section. (2020). Changes and preparation when entering the elderly. Retrieved from http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/health/prepared/topic001.php (In Thai)

Esther, H.K.Y, Sheila, C., & Edwin, H.W.C. (2016). Social Needs of The Elderly and Active Aging in Public Open Spaces in Urban Renewal. Cities, 52, 114–122. https://doi.org/10.1016/j.cities.2015.11.022

Gaston, J, Haisfield - Wolfe M.E, Reddick, B., Goldstein, N. & Lawal, T.A. (2013). The Relationships Among Coping Strategies, Religious Coping, and Spirituality in African American Woman with Breast Cancer Receiving Chemotherapy. Oncology Nursing Forum, 40(2), 120-131. DOI: 10.1188/13.ONF.120-131

Jitae, S. (2019). Elderly Health Promotion with Lanna Local Wisdom: Case Study in Saluang Subdistrict Administrative Organization, Mae Rim District, Chiang Mai Province. Journal of Graduate Studies in Northern Rajabhat University, 9(1), 1-16. (In Thai)

Jitae, S., & Jumkerd, D. (2014). Development for Health Promotion Model in Elderly Based on Community Participation. Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 15(2), 37-45. (In Thai)

Kraivart, K., Supthun, V. & Sookhom, A. (2016). The Involvement of Civil Society in Helping Children, Women, the Elderly and People with Disabilities in the Community. NRRU Community Research Journal, 10(3), 20-30. (In Thai)

Promwong, C. (2013). Testing of media performance or teaching series. Silpakorn Education Research Journal, 5(1), 7-19. (In Thai)

Suksithong, N. (2017). Lanna Local Wisdom for Health Promotion of Elderly in Saluang Subdistrict Administrative Organization, Maerim District, Chiangmai Province. Christian University journal, 23(2), 164-173. (In Thai)

WHO. (2019). Ageing and health. Retrieved from

https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/ageing-and-health

Wongmai, A., Jitae, S., & Munpetch, S. (2018). Prevalence of depression and predictive factors of depression among the elderly in Mae Wang Subdistrict Municipality, Mae Wang District, Chiang Mai Province. Suan Prung Journal, 34(1), 45-61. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30

How to Cite

ใจเตี้ย ส. (2021). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างเสริมความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเป็นฐาน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. Community and Social Development Journal, 22(1), 66–77. https://doi.org/10.14456/rcmrj.2021.242335

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE)