การวิเคราะห์การสร้างคำใหม่และความหมายแฝงในภาพยนตร์ แนวเหยียดเชื้อชาติ กรณีศึกษา Green Book และ The Butler

Main Article Content

สพลเชษฐ์ ประชุมชัย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์การสร้างคำใหม่และความหมายแฝงในภาพยนตร์แนวเหยียดเชื้อชาติกรณีศึกษา Green Book และ The Butler และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการสร้างคำใหม่และความหมายแฝงระหว่างภาพยนตร์เรื่อง Green Book และ The Butler ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือคำ จำนวน 23,026 คำ และประโยค จำนวน 3,820 ประโยค ในภาพยนตร์เรื่อง Green Book และ The Butler โดยใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์สร้างคำใหม่ของ Yule (2010) และทฤษฏีการวิเคราะห์ความหมายแฝงของ Leech (1981) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ผลวิจัยพบว่า ภาพยนตร์ Green Book พบ Derivation (การเติมหน่วยคำแปลง) มากที่สุด จำนวน 55 คำ และความหมายแฝง จำนวน 39 ประโยค ขณะที่ The Butler พบ Derivation (การเติมหน่วยคำแปลง) พบมากที่สุด จำนวน 142 คำ ความหมายแฝง จำนวน 14 ประโยค เมื่อเปรียบเทียบภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องพบว่า Green Book พบความหมายแฝงมากกว่า The Butler ขณะที่ The Butler พบการสร้างคำใหม่มากกว่า Green Book

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

สพลเชษฐ์ ประชุมชัย, สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

References

บุปผา ปงลังกา ศิตา เยี่ยมขันติถาวรและอารีรักษ์ มีแจ้ง. (2559). ผลการใช้ภาพยนตร์แอนิเมชั่นเพื่อพัฒนาความสามารถทางด้านการพูดภาษาอังกฤษและความพึงพอใจ โรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 6(1), 45-60.

ปิยนุช ภู่ขาวและนภาศรี ทิมแย้ม. (2556). Word Formation Processes of Neologisms Found in Women Cosmetic Advertisement in Women Magazines. วารสารมนุษยศาสตร์, 19(1), 197-214.

วาสนา ณ วิเชียร วีระพล สายกาล เกศมณี แก้วบางและอมิตตา หุ่นเก่า. (2562). บทเรียนมัลติมีเดียจากฉากและบทพูดในบทพูดในภาพยนตร์เพื่อพัฒนาคำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่มีปัญหาสมาธิสั้น. (รายงานผลการวิจัย). เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์.

Riani, A. and Nasuttion, S.S. (2019). An Analysis of Implicature in “Peaceful Warrior” Movie Script. Proceeding Universitas Pamulang, 1(1), 95-105.

Hughes, R. (2009). The Teacher’s Grammar of English. New York: Cambridge University Press.

Leech, G. (1981). Semantics: The Study of Meaning. Harmondaworth: Penguin.

Marzita, R., Syarif, H. and Ardi, H. (2013). An Analysis of Word Formation Process of English Slang in Teenager Movie Scripts. English Language and Literature E-Journal, 2(1), 163-173.

Novianti, D. (2017). Word Formation Analysis of English Slang Language on “Dead pool” Movie. Bachelor of Arts in English, State Islamic University of Syarif Hidayatullah.

O’Grady, W. (1997). Contemporary Linguistics: An Introduction. New York: Longman.

Prastyphylia, D.N. (2018). Types of Slang Words in the Movie Script of Sausage Party. Jurnal Humanis, Fakultas Ilmu Budaya Unud, 22(3), 796-803.

Purwaningtyas, T. (2016). A Morphology Analysis of Word Formation Process in Film Script “The Adventures of Tintin”. Bachelor of Arts in English, State Islamic College of Ponorogo.

Yule, G. (2010). The Study of Language. (4th). New York: Cambridge University Press.