การพัฒนาชีวิตด้วยการดูจิต
คำสำคัญ:
สติ, ดูจิต, พัฒนาจิตบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ ผู้เขียนประสงค์จะอธิบายและวิเคราะห์การพัฒนาจิตด้วยการปฏิบัติธรรมตามแนวทางการดูจิต การตามดูจิตเป็นวิธีการปฏิบัติธรรมที่เหมาะสำหรับคนเมืองที่ไม่ค่อยมีเวลาปลีกวิเวก แต่ยังสามารถนำแนววิธีการปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การดูจิต คือ การใช้สติและสัมปชัญญะในการปฏิบัติ ให้มีสติรู้ทันจิต รู้ทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็นการนำคำสอนใน สติปัฏฐาน 4 มาเป็นหลักในการปฏิบัติ การฝึกให้มีความรู้สึกตัวบ่อยๆ จะช่วยให้จิตไม่เผลอไปกับอารมณ์ที่มากระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ซึ่งเป็นวิธีทำให้กายกับใจอยู่กับปัจจุบันได้ดี การดูจิตจึงเป็นวิธีการอบรมพัฒนาจิตเพื่อพัฒนาชีวิตได้เป็นอย่างดี
References
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2561). ข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต: กรมสุขภาพจิตเผย คนวัยทำงานในกรุงเทพ 45% ถูกความเครียดขโมยความสุข. สืบค้น 8 มิถุนายน 2564. จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28253.
แนบ มหานีรานนท์. (2557). หลักของวิปัสสนาโดยสังเขป และหลักปฏิบัติ 15 ข้อ สำหรับผู้เริ่มเข้ากรรมฐาน. กรุงเทพฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท์ จำกัด.
พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร). (2554). หลักสูตรครูสมาธิ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: หจก. พิฆณี.
พระปราโมทย์ ปาโมชฺโช. (2553). เรียนธรรมคู่เพื่อรู้ธรรมหนึ่ง. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมดา.
พระปราโมทย์ ปาโมชฺโช. (2553). เรียนธรรมคู่เพื่อรู้ธรรมหนึ่ง. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมดา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2555). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 32. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ). (ม.ป.ป.) การทำงานเพื่องานการทำหน้าที่คือการปฏิบัติธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ). (ม.ป.ป.). การทำงานเพื่องานการทำหน้าที่คือการปฏิบัติธรรม. สืบค้น 9 สิงหาคม 2564, จากhttps://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/2016RG0097/#p=14
พระไพศาล วิสาโล. (2562). ธรรมะชนะทุกข์. สมุทรปราการ: ชมรมกัลป์ยาณธรรม.
พุทธทาสภิกขุ. (2554). จิตภาวนา สมาธิเพื่อการพัฒนาจิต. กรุงเทพฯ: สถาบันลือธรรม.
พุทธทาสภิกขุ. (2555). การทำงานนั้นคือการปฏิบัติธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ.
พุทธทาสภิกขุ. (2555). การทำงานนั้นคือการปฏิบัติธรรม. สืบค้น 8 สิงหาคม 2564. จาก http://library.mod.go.th/ebook/359305
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (2561). คู่มือชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 42. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.
สันตินันท์ (หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช). (2552). ดูจิตปีแรก. พิมพ์ครั้งที่ 3. สมุทรสาคร: บริษัท ยูไนเต็ด โปรดักชั่น เพรส จำกัด.
หลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน. (2556). สมาธิภาวนากับหลวงตามหาบัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์ จำกัด.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารปณิธาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th