กระบวนการสร้างจิตสำนึกระลึกรู้ทันเพื่อการควบคุมน้ำหนักของบุคลากรในองค์กร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการ “จิตสำนึกระลึกรู้ทัน” จัดการกับน้ำหนักของบุคลากรในองค์กรให้ห่างไกลจากการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยคัดเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัยทั้งสิ้น 30 คน มาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม 10 คน (ไม่เข้าร่วมกระบวนการ) และกลุ่มทดลอง 20 คน (เข้าร่วมกระบวนการ) ผู้วิจัยได้ติดตามวัดผลด้านสรีรวิทยาและการมีกิจกรรมทางกายของทั้ง 2 กลุ่มตลอดช่วงระยะเวลาดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) ในช่วงดำเนินกระบวนการพบว่า การมีกิจกรรมทางกายเฉลี่ยของกลุ่มควบคุมไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย ส่วนกลุ่มทดลองเกิดการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมทางกายเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน และค่าเฉลี่ยของการมีภาวะเนือยนิ่งก็มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่วนผลการวิจัย (2) ในช่วงติดตามความคงอยู่ของผลหลังจบกระบวนการพบว่า กลุ่มควบคุมไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย ส่วนกลุ่มทดลองมีการใช้กิจกรรมทางกายเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และค่าเฉลี่ยของการมีภาวะเนือยนิ่งก็มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (3) (4) จากแบบสอบถามก่อน-หลังการวิจัย และการสัมภาษณ์เจาะลึกรายบุคคลของกลุ่มทดลอง แสดงให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมการวิจัยได้รับความรู้จากกระบวนการ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ
Article Details
“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใด ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสิทธิ์พิจารณาและตรวจแก้ต้นฉบับได้ตามที่เห็นสมควร พร้อมนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์หากมีการฟ้องร้องเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งและ/หรือข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วมยินยอมรับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว”
References
American College of Sport and Medicine. (2005). ACSM’s resource manual for guidelines for exercise testing and prescription (5th ed.). Lippincott Williams & Wilkins.
Arnin, J., Anopas, D., Triponyawasin, P., Yamsa-ard, T. & Wongsawat, Y. (2014). Development of a Novel Classification and Calculation Algorithm for Physical Activity Monitoring and Its Application. APSIPA 2014 Asia-Pacific, 1-4.
Barinaga, M. (2003). Buddhism and neuroscience: Studying the well-trained mind. Science, 302, 44-46.
Brown, J. & Isaacs, D. (2009). The World Café (translated by Thanasukthaworn, C. & SamaPutti, K.).Bangkok: Plan Printing. [in Thai]
Farb, N. A., Segal, Z. V., Mayberg, H., Bean, J., McKeon, D., Fatima, Z. & Anderson, A. K. (2007). Attending to the present: mindfulness meditation reveals distinct neural modes of self-reference. Soc Cogn Affect Neurosci,2(4),313-322.
Hu, M. B., Bai, P. D., Wu, Y. S., Zhang, L. M., Xu, H., Na, R., Jiang, H. W. &Ding, Q. (2015). Higher Body Mass Index Increases the risk for Biopsy-Mediated Detection of Prostate Cancer in Chinese Men. PLOS ONE, 10(4), e0124668.
Jha, A. P., Krompinger, J. & Baime, M. J. (2007). Mindfulness training modifies subsystems of attention. Cogn Affect Behav Neurosci, 7(2), 109-119.
Kearney, D. J., Milton, M. L., Malte, C. A., McDermott, K. A., Martinez, M. & Simpson, T. L. (2012). Participation in mindfulness-based stress reduction is not associated with reductions in emotional eating or uncontrolled eating. Nutrition Research, 32(6), 413-420.
Lazar, S. W., Kerr, C. E., Wasserman, R. H., Gray, J. R., Greve, D. N., Treadway, M. T., McGarvey, M., Quinn, B. T., Dusek, J. A., Benson, H., Rauch, S. L., Moore, C. I. & Fischl, B. (2005). Meditation experience is associated with increased cortical thickness. Neuroreport,16(17), 1893-1897.
Luders, E., Toqa, A. W., Lepore, N. & Gaser, C. (2009). The underlying anatomical correlates of long-term meditation: larger hippocampal and frontal volumes of grey matter. Neuroimage,45(3), 672-678.
Mason, A. E., Epel, E. S., Aschbacher, K., Lustig, R. H., Acree, M., Kristeller, J., Cohn, M., Dallman, M., Moran, P. J., Bacchetti, P., Laraia, B., Hecht, F. M. & Daubenmier, J. (2016). Reduced reward-driven eating accounts for the impact of a mindfulness-based diet and exercise intervention on weight loss: Data from the SHINE randomized controlled trial. Appetite, 100, 86-93.
McGill, H. C. Jr., Herderick, E. E., McMahan, C. A., Zieske, A. W., Malcolm, G. T., Tracy, R. E. & Strong, J. P. (2002). Atherosclerosis in youth. Minerva Pediatrica, 54(5), 437-447.
Nakawiro, D., Losathien, P. & Suttijit, S. (2013). Mindfulness-Base Psychotherapy. Faculty of Medicine, Chiang Mai University. [in Thai]
Pamotecho, P. (2012). Main Way (2nd ed.). Bangkok: Amarin Dharma Publishing. [in Thai]
Ritskes, R., Ritskes-Hoitinga, M., Stødkilde-Jørgensen, H., Bærentsen, K. & Hartman, T. (2003). MRI scanning during Zen meditation: the picture of enlightenment? Constructivism in the Human Sciences,8(1), 85-89.
Thammarangsi, T., Wongwattanakul, W. & Suriyawongpaisarn, W. (2014). NCDs Situation Report, Health Crisis, Social Crisis. Bangkok: Bureau of Health Policy Research and Disease Control Network Program International Health Policy Development Office. [in Thai]
World Health Organization. (2010). Global Recommendations on Physical Activity for Health. Geneva: WHO Press.
World Health Organization. (2015). Physical Activity and Adults. Retrieved July 10, 2016, from https://www.who.int/dietphysicalactivity/factsheet_adults/en/
World Health Organization. (2015). Physical Activity: Fact Sheet Nº385. Retrieved July 17, 2016, from https://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs385/en/